Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
Information Studies
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS287998
ภาษาไทย
Thai name
ดุษฎีนิพนธ์
ภาษาอังกฤษ
English name
DISSERTATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
36(0-0-0)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาดุษฎีนิพนธ์ (Dissertation)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข
    • รองศาสตราจารย์มาลี กาบมาลา
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันยารัตน์ เควียเซ่น
    • รองศาสตราจารย์วิศปัตย์ ชัยช่วย
    • รองศาสตราจารย์ลำปาง แม่นมาตย์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ลึกในทฤษฎี หลักการและแนวคิดที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาการที่ศึกษาและศาสตร์ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    • สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    • มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา
    • ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาของตนและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาความรู้หรือ แนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีภาวะผู้นำ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
      • มีความรับผิดชอบและสามารถวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองและองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      การทำวิจัยในสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ในหัวข้อที่นักศึกษาเลือกศึกษาเพื่อพัฒนาเป็นงานวิจัยดุษฎีนิพนธ์ที่สามารถตีพิมพ์เผยแพร่ได้ในระดับชาติและหรือระดับนานาชาติ ภายใต้การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Conducting a research in information studies on the selected topic by the student in order for creating doctoral dissertation which can be published at a national and/or international level under the supervisor of the dissertation’s advisor
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-15 -การพัฒนาและทดสอบเครื่องมือวิจัย
      -การเก็บรวบรวมข้อมูล
      405
      • K1: มีความรู้ลึกในทฤษฎี หลักการและแนวคิดที่เป็นรากฐานในสาขาวิชาการที่ศึกษาและศาสตร์ในสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
      • K2: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาของตนและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาความรู้หรือ แนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • S2: สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • C1: มีภาวะผู้นำ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
      • C2: มีความรับผิดชอบและสามารถวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองและองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      กิจกรรม
      การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การชี้แนะให้คำปรึกษา การมอบ หมายงานให้ดำเนินการ
      -การให้นักศึกษาพัฒนาแครื่องมือ เก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลตามกรอบที่กำหนด
      -การให้นักศึกษาเรียบเรียง “ผลการวิเคราะห์ข้อมูล”
      -การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าในการทำดุษฎีนิพนธ์ ในการสัมมนาของหลักสูตร

      สื่อ
      -โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
      -ตัวอย่างเครื่องมือวิจัยที่เกี่ยวข้อง

      วิธีการประเมิน
      -ประเมินจากพฤติกรรมการทำงาน
      -ประเมินความรู้ความเข้าใจในขณะให้คำปรึกษา
      -ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบ หมายให้ทำ ตามเกณฑ์กำหนด
      รวมจำนวนชั่วโมง 405 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      ผลงานการทำดุษฎีนิพนธ์ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา
        สัปดาห์ที่ 15 ของ ภาคการศึกษาที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนดในประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับที่ 34/2547) - ค้นคว้าเอกสารจนสามารถเขียนเอกสารนำเสนอกรอบแนวคิด ได้รับการยอมรับจากอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ให้เสนอเป็นดุษฎีนิพนธ์ได้ - พัฒนาร่างเค้าโครงการวิจัยดุษฎีนิพนธ์ บทที่ 1-3 ผ่านการตรวจแก้ไขของอาจารย์ที่ปรึกษา - จัดทำเค้าโครงการวิจัยดุษฎีนิพนธ์ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ หรือสอบผ่านเค้าโครง - แก้ไขเค้าโครงตามที่ผู้เชี่ยวชาญหรือกรรมการสอบพิจารณา เสนอขออนุมัติจากคณะ - วางแผนการวิจัย ออกแบบเครื่องมือวิจัย ทดสอบเครื่องมือวิจัยแล้วเสร็จ - เก็บรวบรวมข้อมูลแล้วเสร็จ - วิเคราะห์ข้อมูลแล้วเสร็จ - นำเสนอผลงานวิจัยบางส่วนในที่ประชุมวิชาการหรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา - เสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิในที่ประชุมสัมมนาความก้าวหน้าในการทำดุษฎีนิพนธ์ - แก้ไขปรับปรุงผลงาน ร่างเป็นผลการวิจัย สรุปและอภิปรายผล เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา - นำเสนอผลวิจัยบางส่วนเป็นบทความตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ - สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ แก้ไขและจัดเอกสารฉบับสมบูรณ์

        S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 3 หน่วยกิต S = 6 หน่วยกิต S = 6 หน่วยกิต S = 6 หน่วยกิต รวม 48 หน่วยกิต
        การสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์
          100 ภายใน 45 วันหลังจากประเมินผลการทำดุษฎีนิพนธ์ได้ S ครบ 48 หน่วยกิต ประเมินการสอบตามเกณฑ์ที่คณะกำหนด

          Excellent (90-100) Good (80-89) Pass (70-79) Failed (
          การได้รับการยอมรับ หรือการได้ตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
            ภายใน 1 ปี หลังการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ ต้องเป็นบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์/หรือได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ที่เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานของสาขาวิชาและหรือมหาวิทยาลัย

            เป็นเงื่อนไขการสำเร็จการศึกษา
            สัดส่วนคะแนนรวม 100
            9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
                 Textbook and instructional materials
            ประเภทตำรา
            Type
            รายละเอียด
            Description
            ประเภทผู้แต่ง
            Author
            ไฟล์
            File
            หนังสือ หรือ ตำรา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คู่มือและหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
            หนังสือ หรือ ตำรา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คู่มือการทำวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ.
            หนังสือ หรือ ตำรา ระเบียบและประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย และของคณะมนุษยศาสตรืและสังคมศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการทำวิทยานิพนธ์
            10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
                 Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
            การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
            Evaluation of course effectiveness and validation
            • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
            • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
            การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
            Improving Course instruction and effectiveness
            • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
            • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
            ผลการเรียนรู้
            Curriculum mapping
            1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2 5.3

            รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
            หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2560)

            1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
            1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ เป็นผู้นำในการริเริ่มให้มีการทบทวนปัญหาและใช้ดุลยพินิจอย่างผู้รู้ในการแก้ไขปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
            1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนและเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น

            2. ด้านความรู้
            2.1 มีความรู้ลึกซึ้งในแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและวิจัยในสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
            2.2 สามารถทาการวิจัยโดยบูรณาการแนวคิดและทฤษฎี เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และถ่ายทอดเพื่อให้เกิดการพัฒนาในสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
            2.3 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา

            3. ทักษะทางปัญญา
            3.1 สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา และบูรณาการความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสาคัญ
            3.2 สามารถออกแบบและดาเนินโครงการวิจัยที่สาคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสาคัญ

            4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
            4.1 มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
            4.2 มีภาวะผู้นาและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสาขาวิชาให้มีความเจริญก้าวหน้า โดยผ่านกระบวนการทางานในบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบได้

            5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
            5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัย ในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ได้
            5.2 มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่หรือถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการได้
            5.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้