รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-3 |
- แนะนำการเรียน สิ่งที่พึงรู้พึงปฏิบัติ ข้อตกลงการเรียน และการวัดและประเมินผล - แนะนำระเบียบ หลักเกณฑ์ ประกาศที่เกี่ยวข้อง - การค้นคว้าวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดหัวข้อ/ ประเด็นวิจัยสำหรับดุษฎีนิพนธ์ |
81 |
|
กิจกรรม - การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การชี้แนะให้คำปรึกษา การมอบหมายงานให้ดำเนินการ - การให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ วิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม สื่อ - คู่มือการทำวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัยและคณะ - ประกาศ/ระเบียบที่เกี่ยวข้อง วิธีการประเมิน - ประเมินจากพฤติกรรมการทำงาน - ประเมินความรู้ความเข้าใจในขณะในคำปรึกษา - ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายให้ทำตามเกณฑ์กำหนด |
|
4-6 | - การพัฒนาร่างเค้าโครงงานวิจัยส่วน “บทนำ” (กำหนดปัญหาการวิจัย ภูมิหลัง/ความสำคัญ คำถามการวิจัย วัตถุประสงค์ ประโยชน์และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับการเขียน “บทนำ”) | 81 |
|
กิจกรรม - การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การชี้แนะให้คำปรึกษา การมอบหมายงานให้ดำเนินการ - การให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ วิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม - การให้นักศึกษาเรียบเรียง “บทนำ” ของเค้าโครงงานวิจัย สื่อ - ตัวอย่างเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ - ตัวอย่างบทความปริทัศน์ วิธีการประเมิน - ประเมินจากพฤติกรรมการทำงาน - ประเมินความรู้ความเข้าใจในขณะในคำปรึกษา - ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายให้ทำตามเกณฑ์กำหนด |
|
7-10 |
- การค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - การเรียบเรียงเนื้อหาในส่วน “ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง” ของเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ |
108 |
|
กิจกรรม - การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การชี้แนะให้คำปรึกษา การมอบหมายงานให้ดำเนินการ - การให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ วิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม - การให้นักศึกษาจัดทำเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ สื่อ - ตัวอย่างเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ - ตัวอย่างบทความปริทัศน์ วิธีการประเมิน - ประเมินจากพฤติกรรมการทำงาน - ประเมินความรู้ความเข้าใจในขณะให้คำปรึกษา |
|
11-13 |
- การออกแบบระเบียบวิธีวิจัย - การเรียบเรียงเนื้อหาในส่วน “การดำเนินการวิจัย” ของเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ |
81 |
|
กิจกรรม - การให้นักศึกษาจัดทำเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ - การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าในการทำดุษฎีนิพนธ์ในการสัมมนาของหลักสูตร สื่อ - ตัวอย่างเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ - ตัวอย่างบทความปริทัศน์ วิธีการประเมิน - ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายให้ทำ |
|
14-15 |
- การแก้ไขและเรียบเรียงเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ - การเสนอเค้าโครงต่อผู้เชี่ยวชาญ - การเสนอขออนุมัติเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ |
54 |
|
กิจกรรม - การให้นักศึกษาจัดทำเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ - การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าในการทำดุษฎีนิพนธ์ในการสัมมนาของหลักสูตร สื่อ - ตัวอย่างเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ - ตัวอย่างบทความปริทัศน์ วิธีการประเมิน - ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายให้ทำ |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 405 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
ผลงานการทำดุษฎีนิพนธ์ |
|
สัปดาห์ที่ 15 ของแต่ละภาคการศึกษา | |
การสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ |
|
100 | ภายใน 45 วันหลังจากประเมินผลการทำดุษฎีนิพนธ์ได้ S ครบ 48 หน่วยกิต ประเมินการสอบตามเกณฑ์ที่คณะกำหนด |
การได้รับการยอมรับ หรือการได้ตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ |
|
ภายใน 1 ปีหลังการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ ต้องเป็นบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ที่ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์/ หรือได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ที่เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานของหลักสูตรและหรือมหาวิทยาลัย | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คู่มือและหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คู่มือการทำวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ระเบียบและประกาศของบัณฑิตวิทยาลัยและของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการทำวิทยานิพนธ์ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2561)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
3.ทักษะทางปัญญา
2.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
2.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้