รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำรายวิชา วัตถุประสงค์ ข้อตกลงในการเรียน และวิธีการประเมินผล - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเอเชียตะวันออก |
3 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน 2) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเอเชียตะวันออก 3) อธิบายโครงงาน แบ่งกลุ่มนักศึกษาทำโครงงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก(จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) |
|
2 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคโจมง ยาโยอิ โคฟุน อะสึกะ นารา เฮอัน | 3 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคโจมง ยาโยอิ โคฟุน อะสึกะ นารา เฮอัน 2) ทำแบบฝึกหัดออนไลน์ 4) ทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคโจมง ยาโยอิ โคฟุน อะสึกะ นารา เฮอัน โคฟุน 5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคโจมง ยาโยอิ โคฟุน อะสึกะ นารา เฮอัน รวมถึงตอบข้อซักถามแบบฝึกหัด 6) ทำแบบทดสอบย่อย/โครงงาน |
|
3 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคคามาคุระ มุโรมะจิ | 3 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคคามาคุระ มุโรมะจิ 2) ทำแบบฝึกหัดออนไลน์ 4) ทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคคามาคุระ มุโรมะจิ 5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์คามาคุระ มุโรมะจิ รวมถึงตอบข้อซักถามแบบฝึกหัด 6) ทำแบบทดสอบย่อย/โครงงาน |
|
4 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคอะสิจิโมโมยามะ เอโดะ | 3 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคอะสิจิโมโมยามะ เอโดะ 2) ทำแบบฝึกหัดออนไลน์ 4) ทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคอะสิจิโมโมยามะ เอโดะ 5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคอะสิจิโมโมยามะ เอโดะ รวมถึงตอบข้อซักถามแบบฝึกหัด 6) ทำแบบทดสอบย่อย/โครงงาน |
|
5 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคเมจิ ไทโช โชวะ | 3 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคเมจิ ไทโช โชวะ 2) ทำแบบฝึกหัดออนไลน์ 4) ทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคเมจิ ไทโช โชวะ 5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคเมจิ ไทโช โชวะ รวมถึงตอบข้อซักถามแบบฝึกหัด 6) ทำแบบทดสอบย่อย/โครงงาน |
|
6-7 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคโบราณ | 6 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคโบราณ 2) ทำแบบฝึกหัดออนไลน์ 4) ทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคโบราณ 5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคโบราณ รวมถึงตอบข้อซักถามแบบฝึกหัด 6) ทำแบบทดสอบย่อย/โครงงาน |
|
8-9 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคเกาหลี ยุคกลาง | 6 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคกลาง 2) ทำแบบฝึกหัดออนไลน์ 4) ทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคกลาง 5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคกลาง รวมถึงตอบข้อซักถามแบบฝึกหัด 6) ทำแบบทดสอบย่อย/โครงงาน |
|
10 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ยุคเกาหลี ยุคใหม่ | 3 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคใหม่ 2) ทำแบบฝึกหัดออนไลน์ 4) ทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคใหม่ 5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์เกาหลี ยุคใหม่ รวมถึงตอบข้อซักถามแบบฝึกหัด 6) ทำแบบทดสอบย่อย/โครงงาน |
|
11 |
1. ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์จีนโดยสังเขป 2. จุดเริ่มต้นของอารยธรรมจีน |
3 |
|
1. ผู้สอนและผู้เรียนทักทายและแนะนำตัว 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็น 6 กลุ่ม เพื่อเตรียมศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อแต่ละราชวงศ์ของจีน 3. บรรยายความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์จีนโดยสังเขป และจุดเริ่มต้นของอารยธรรมจีน ผ่านการดูวิดีโอ กิจกรรมการตอบคำถามผ่านและการแสดงความคิดเห็นต่างๆ ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Microsoft Team ร่วมกับเครื่องมืออื่นๆเช่น Google Form , Kahoot, Pollev เป็นต้น |
|
12 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ ราชวงศ์ฉิน และ ราชวงศ์ฮั่น | 3 |
|
1. ผู้เรียนกลุ่มที่ 1 และ 2 นำเสนอตามหัวข้อที่ตนได้ไปศึกษาค้นคว้า 2. ผู้สอนสอดแทรกเนื้อหาเพิ่มเติมในส่วนของราชวงศ์ฉินและฮั่น ด้วยการบรรยาย หรือนำเสนอผ่านวิดีโอ 3. กิจกรรมตอบคำถาม และร่วมกันพูดคุยเพื่อแสดงความคิดเห็นตามหัวข้อที่ทุกคนสนใจในราชวงศ์ฉินและฮั่น 5. มอบหมายการบ้านเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน โดยส่งผ่าน Google Classroom 4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Microsoft Team ร่วมกับเครื่องมืออื่นๆเช่น Google Form , Kahoot, Pollev เป็นต้น |
|
13 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ ราชวงศ์ถัง และ ราชวงศ์ซ่ง | 3 |
|
1. ผู้เรียนกลุ่มที่ 3 และ 4 นำเสนอตามหัวข้อที่ตนได้ไปศึกษาค้นคว้า 2. ผู้สอนสอดแทรกเนื้อหาเพิ่มเติมในส่วนของราชวงศ์ถังและซ่ง ด้วยการบรรยาย หรือนำเสนอผ่านวิดีโอ 3. กิจกรรมตอบคำถาม และร่วมกันพูดคุยเพื่อแสดงความคิดเห็นตามหัวข้อที่ทุกคนสนใจในราชวงศ์ฉินและฮั่น 5. มอบหมายการบ้านเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน โดยส่งผ่าน Google Classroom 4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Microsoft Team ร่วมกับเครื่องมืออื่นๆเช่น Google Form , Kahoot, Pollev เป็นต้น |
|
14-15 | การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ที่น่าสนใจในประวัติศาสตร์ ราชวงศ์หมิง และ ราชวงศ์ชิง | 6 |
|
1. ผู้เรียนกลุ่มที่ 5 และ 6 นำเสนอตามหัวข้อที่ตนได้ไปศึกษาค้นคว้า 2. ผู้สอนสอดแทรกเนื้อหาเพิ่มเติมในส่วนของราชวงศ์หมิงและชิง ด้วยการบรรยาย หรือนำเสนอผ่านวิดีโอ 3. กิจกรรมตอบคำถาม และร่วมกันพูดคุยเพื่อแสดงความคิดเห็นตามหัวข้อที่ทุกคนสนใจในราชวงศ์ฉินและฮั่น 5. มอบหมายการบ้านเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน โดยส่งผ่าน Google Classroom 4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Microsoft Team ร่วมกับเครื่องมืออื่นๆเช่น Google Form , Kahoot, Pollev เป็นต้น |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าเรียนใน KKU E-learning และการมีส่วนร่วมในการ Discuss forum |
|
10 | |
โครงงาน |
|
20 | |
การนำเสนองาน |
|
20 | |
การสอบย่อย |
|
20 | |
การสอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
พราวพรรณ พลบุญ สุเขตศักดิ์ หวานวาจา และณัฐนันท์ ติยานนท์.(2566). เอกสารประกอบการสอน วิชา HS301802 ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | เพ็ญศรี กาญจโนมัย.(2530).อารยธรรมญี่ปุ่น.กรุงเทพฯ : บริษัทวรวุฒิการพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วิทยาลัยภาษาจีนปักกิ่ง,มหาวิทยาลัยครูหนานจิง,มหาวิทยาลัยครูอันฮุย (2550) , ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์จีน , สำนักพิมพ์สุขภาพใจ |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Quick Access to Chinese History (2008) , Foreign Languages Press 中国古代历史(上、下),北京大学出版社,2004. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ