Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433602
ภาษาไทย
Thai name
การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ
English name
QUANTITATIVE RESEARCH AND QUALITATIVE RESEARCH FOR DEVELOPMENT
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-1-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • 2. นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการปฏิบัติงานวิจัยด้านพัฒนาสังคมในสถานประกอบการ
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    • 2. นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความสำคัญของปัญหาการวิจัย การกำหนดวัตถุประสงค์ คำถามการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อการพัฒนาสังคม การเขียนรายงานการวิจัย
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Importance of research problems, formulation of objectives, research questions, conceptual frameworks, quantitative research and qualitative research methodology for social development, research report writing
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Work integrated learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Task-based learning
    • Seminar
    • Google Meet
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 ครั้งที่ 1 - แนะนำขอบข่ายรายวิชาและการเรียนการสอนในระบบ Module ร่วม

    หน่วยที่ 1 การตั้งโจทย์คำถามการวิจัย
    1.1 การวิจัยทางสังคมศาสตร์กับการพัฒนาสังคม
    1.2 โจทย์คำถามการวิจัย
    1.3 การกำหนดหัวข้อและวัตถุประสงค์การวิจัย
    (ผู้สอน: ผศ.ดร.ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์)
    1.5
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - ชี้แจงรายละเอียดขอบข่ายเนื้อหาวิชา และกระบวนการเรียนการสอน และการใช้งาน KKU e-Learning
    - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของการวิจัยในการพัฒนาสังคม โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
    - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ในเนื้อหาแต่ละหน่วย โดยกิจกรรมถามตอบ ผ่าน Application Kahoot
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 1
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    (1) เอกสารออนไลน์ขอบข่ายรายวิชาและกำหนดการเรียนการสอน
    (2) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
    (3) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 1 ในระบบ KKU e-Learning
    (4) ใบงานที่ 1 การวิเคราะห์คำถามการวิจัยจากการสืบค้นบทความวิจัยจากวารสารวิชาการในฐานข้อมูล TCI (งานเดี่ยว – 4 คะแนน)
    1 ครั้งที่ 2 หน่วยที่ 2 การพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
    2.1 การทบทวนวรรณกรรม
    2.2 การพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
    2.3 สมมติฐานการวิจัย
    (ผู้สอน: อ.ดร.อภิรดี วงศ์ศิริ)

    1.5
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
    - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนวรรณกรรมเพื่อพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
    - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ในเนื้อหาแต่ละหน่วย โดยกิจกรรมถามตอบ ผ่าน Application Kahoot
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 2
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 2 ในระบบ KKU e-Learning
    (3) ใบงานที่ 2 การวิเคราะห์กรอบแนวคิดการวิจัยจากกรณีศึกษา (งานกลุ่ม – 3 คะแนน)
    1 ครั้งที่ 3 และ 2 ครั้งที่ 1 หน่วยที่ 3 หลักคิดพื้นฐานและการออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ
    3.1 กระบวนทัศน์แบบปฏิฐานนิยม (Positivism Approach)
    3.2 ชนิดและแบบการวิจัยเชิงปริมาณ
    3.3 ความถูกต้องของแบบการวิจัย
    (ผู้สอน: อ.ดร.อภิรดี วงศ์ศิริ)
    3.4 การวัดตัวแปร
    3.5 ประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอย่าง
    3.6 การพัฒนาเครื่องมือในการวิจัยเชิงปริมาณ
    (ผู้สอน: ผศ.ดร.ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์)
    1.5
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
    - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชนิดและแบบการวิจัยเชิงปริมาณ โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
    - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ในเนื้อหาแต่ละหน่วย โดยกิจกรรมถามตอบ ผ่าน Application Kahoot
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 3
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 3 ในระบบ KKU e-Learning
    (3) ใบงานที่ 3 การวัดตัวแปรและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัยเชิงปริมาณ พร้อมนำเสนอผลงานผ่านสื่อ Social Media (งานกลุ่ม – 3 คะแนน)

    2 ครั้งที่ 2 และ 3ครั้งที่ 1 หน่วยที่ 4 การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
    4.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณ
    4.2 การจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
    4.3 การวิเคราะห์ข้อมูลตัวแปรเดียว
    4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลสองตัวแปร
    4.5 การทดสอบสมมติฐาน
    (ผู้สอน: ผศ.ดร.ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์)
    3
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
    - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นปัญหาของการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
    - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ในเนื้อหาแต่ละหน่วย โดยกิจกรรมถามตอบ ผ่าน Application Kahoot
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 4
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 4 ในระบบ KKU e-Learning
    (3) ใบงานที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้โปรแกรม SPSS (งานเดี่ยว – 4 คะแนน)

    3 ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 หน่วยที่ 5 หลักคิดพื้นฐานและการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
    5.1 กระบวนทัศน์ของการวิจัยเชิงคุณภาพ
    5.2 การวิจัยแนวปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenological Approach)
    5.3 การวิจัยแนวสร้างทฤษฎีจากข้อมูล (Grounded Theory Approach)
    5.4 การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
    (ผู้สอน: อ.ดร.อภิรดี วงศ์ศิริ)




    1.5
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
    - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกระบวนทัศน์ของการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
    - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ผ่าน Application Kahoot
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 5
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 5 ในระบบ KKU e-Learning
    (3) ใบงานที่ 5 การวิเคราะห์แบบของการวิจัยเชิงคุณภาพจากกรณีศึกษา พร้อมนำเสนอผลงานผ่านสื่อ Social Media (งานกลุ่ม – 3 คะแนน)
    4 ครั้งที่ 1 หน่วยที่ 6 การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
    6.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    6.2 การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลเชิงคุณภาพ
    6.3 การจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
    6.4 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
    (ผู้สอน: ผศ.ดร.ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์)
    1.5
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
    - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพต่างจากเชิงปริมาณอย่างไร โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
    - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ในเนื้อหาแต่ละหน่วย โดยกิจกรรมถามตอบ ผ่าน Application Kahoot
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 6
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 6 ในระบบ KKU e-Learning
    (3) ใบงานที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพในระดับ Concept และ Network (งานกลุ่ม – 3 คะแนน)

    4 ครั้งที่ 2 การเตรียมตัวลงฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ผ่านระบบ Module ร่วม ในระยะเวลา 8 สัปดาห์
    (ผู้สอน: คณาจารย์กลุ่มวิชาพัฒนาสังคม)

    1.5
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
    - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาถึงการเตรียมตัวลงฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ผ่านระบบ Module ร่วม ในระยะเวลา 8 สัปดาห์
    - มอบหมายงาน Term Paper
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
    (2) แผนการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ
    (3) ตัวอย่างรายงานการวิจัย

    5-6 หน่วยที่ 7 การเขียนรายงานการวิจัย การเผยแพร่ผลการวิจัย และจริยธรรมในการวิจัย
    7.1 การเขียนรายงานการวิจัย
    7.2 การเผยแพร่ผลการวิจัย
    7.3 จริยธรรมในการวิจัย
    (ผู้สอน: ผศ.ดร.ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์)
    9
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    • C2: 2. นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    หน่วยที่ 7 การเขียนรายงานการวิจัย การเผยแพร่ผลการวิจัย และจริยธรรมในการวิจัย
    7.1 การเขียนรายงานการวิจัย
    7.2 การเผยแพร่ผลการวิจัย
    7.3 จริยธรรมในการวิจัย
    (ผู้สอน: ผศ.ดร.ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์)
    7-14 ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ

    24
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • K2: 2. นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการปฏิบัติงานวิจัยด้านพัฒนาสังคมในสถานประกอบการ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    • C1: 1. นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    • C2: 2. นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - นักศึกษาลงฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ผ่านระบบ Module ร่วม ในระยะเวลา 8 สัปดาห์
    - อาจารย์ที่ปรึกษาเข้านิเทศงานไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง และให้คำปรึกษาผ่านช่องทางออนไลน์
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    (1) ช่องทางออนไลน์ เช่น Google Meet, Line, Facebook, Skype
    (2) แผนการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ



    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    ใบงานที่ 1-6
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    30 ใบงานที่ 1-6
    ผลการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ (ประเด็นงานวิจัยเชิงพัฒนา)
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • K2: 2. นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการปฏิบัติงานวิจัยด้านพัฒนาสังคมในสถานประกอบการ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    20 ส่งผ่านระบบ KKU e-Learning
    Term Paper และการนำเสนอผลงาน
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • K2: 2. นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการปฏิบัติงานวิจัยด้านพัฒนาสังคมในสถานประกอบการ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    30 ส่งสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนผ่านระบบ KKU e-Learning
    การสอบย่อย
    • K1: 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • K2: 2. นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการปฏิบัติงานวิจัยด้านพัฒนาสังคมในสถานประกอบการ
    • S1: 1. นักศึกษามีทักษะในการตั้งโจทย์การวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล สนาม การวิเคราะห์เนื้อหา และการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
    • S2: 2. นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
    20
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2560). การวิจัยเชิงปริมาณสำหรับงานพัฒนาสังคม. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    หนังสือ หรือ ตำรา Babbie, E. (2007). The Practice of Social Research. 10Th ed. California: Wadsworth Publishing Company. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สามลดา. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2553). หลักการวิจัยทางสังคม. กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2555). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน สินธะวา คามดิษฐ์ และคณะ. (2556). ระเบียบวิธีการวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน สุวิมล ติรกานันท์. (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน Bryman, A. (2001). Social Research Methods. Oxford: Oxford University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน Creswell, J.W. and Plano-Clark, V.L. (2007). Design and Conducting Mixed Methods Research. New York: SAGE. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน Cunningham, G.K. (1986). Educational and Psychological Measurement. New York: Macmillan. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน De Vaus, D. (2001). Research Design in Social Research. London: SAGE Publication. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน Gribich. (2007). Quantitative Data Analysis. California: SAGE Publication. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน Neuman, W. L. (2004). Basic of Social Research: Qualitative and Quantitative Approaches. Boston: Pearson Education. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน Robson, C. (2002). Real World Research. 2nd ed. Malden: Blackwell Publisher. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    • ประเมินโดยหน่วยงานร่วมพัฒนาบัณฑิตระหว่างการฝึกงานในสัปดาห์ที่ 7-14
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ