รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาจีน
Chinese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
1.การทักทายและแนะนำตัวแนะนำรายละเอียดรายวิชา คำอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์ 2.แนะนำการเรียนออนไลน์เบื้องต้น 3.แนะนำสำนวนจีน |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานออนไลน์ผ่านระบบ Google Classroom รวมทั้งแนะนำช่องทางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Facebook กลุ่มนิทานสุภาษิตอธิบายประมวลรายวิชา และจุดประสงค์การเรียนรู้พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน (2) ระดมความรู้เรื่อง ความเข้าใจในสำนวนจีน ผ่านกระดานใน ZOOM (3) บรรยายผ่าน ZOOM ประกอบแผ่นงานความรู้เรื่อง สำนวนจีนจากเนื้อหาบทเรียนใน E-Learning KKU - ความหมายและขอบเขตของสำนวน - ลักษณะทั่วไปของสำนวน - ที่มาของสำนวน (4) ผู้สอนแนะนำการใช้แอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้สำนวนจีน (5) มอบหมายการบ้านสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสำนวนจีนเบื้องต้นตามใบงาน (6) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่ออภิปรายและตอบคำถาม |
|
3-5 |
สำนวนจีนที่มาจากตำนานและเทพนิยายโบราณของจีน -开天辟地 -精卫填海 -夸父逐日 -牛郎织女 -八仙过海 |
9 |
|
(1) ทักทายและทบทวนเนื้อหาสำนวนจีน เข้าสู่บทเรียนใหม่ด้วยการถามตอบและ บรรยายความรู้เกี่ยวกับสำนวนจีนที่มาจากจำนานและเทพนิยายโบราณผ่าน ZOOM, PPT บรรยายประกอบ -开天辟地 -精卫填海 -夸父逐日 -牛郎织女 -八仙过海 (2) ผู้เรียนเรียนรู้สำนวนจีนจากวิดีโอ ผ่านการสแกนคิวอาร์โค้ดในเอกสารประกอบการสอน (3) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเขียนบทแสดงบทบาทสมมติตามเรื่องสำนวนจีนที่ได้รับมอบหมาย (4) ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมติ (5) ทดสอบออนไลน์ผ่าน ZOOM (6) มอบหมายทำแบบฝึกหัดท้ายบท (7) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่ออภิปรายและให้นักศึกษานำเสนอผลงาน |
|
6-10 |
สำนวนจีนที่มาจากนิทานสุภาษิตสอนใจ -狐假虎威 -画蛇添足 -守株待兔 -滥竽充数 -亡羊补牢 -井底之蛙 -自相矛盾 -鹬蚌相争,渔人得利 -惊弓之鸟 -朝三暮四 |
15 |
|
(1) สอนภาคทฤษฎีโดยใช้ ZOOM ประกอบ PPT -狐假虎威 -画蛇添足 -守株待兔 -滥竽充数 -亡羊补牢 -井底之蛙 -自相矛盾 -鹬蚌相争,渔人得利 -惊弓之鸟 -朝三暮四 (2) ผู้เรียนเรียนรู้สำนวนจีนจากวิดีโอ ผ่านการสแกนคิวอาร์โค้ดในเอกสารประกอบการสอน (3) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเขียนบทแสดงบทบาทสมมติตามเรื่องสำนวนจีนที่ได้รับมอบหมายและส่งงานใน ZOOM (4) ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมติ (5) ทดสอบออนไลน์ผ่าน ZOOM (6) มอบหมายทำแบบฝึกหัดท้ายบท (7) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรมZOOM เพื่ออภิปรายและให้นักศึกษานำเสนอผลงาน |
|
11-13 |
สำนวนจีนที่มาจากเรื่องราวหรือบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ -望梅止渴 -卧薪尝胆 -纸上谈兵 -一鼓作气 -破釜沉舟 |
9 |
|
(1) สอนภาคทฤษฎีโดยใช้ ZOOM ประกอบ PPT -望梅止渴 -卧薪尝胆 -纸上谈兵 -一鼓作气 -破釜沉舟 (2) ผู้เรียนเรียนรู้สำนวนจีนจากวิดีโอ ผ่านการสแกนคิวอาร์โค้ดในเอกสารประกอบการสอน (3) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเขียนบทแสดงบทบาทสมมติตามเรื่องสำนวนจีนที่ได้รับมอบหมาย (4) ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมติ (5) ทดสอบออนไลน์ผ่าน ZOOM (6) มอบหมายทำแบบฝึกหัดท้ายบท (7) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOMเพื่ออภิปรายและให้นักศึกษานำเสนอผลงาน |
|
14-15 |
สำนวนจีนที่มาจากวรรณกรรมเรื่องสามก๊ก -三顾茅庐 -纵虎归山 -草船借箭 -下笔成章 -心怀叵测 |
6 |
|
(1) สอนภาคทฤษฎีโดยใช้ ZOOMประกอบ PPT -三顾茅庐 -纵虎归山 -草船借箭 -下笔成章 -心怀叵测 (2) ผู้เรียนเรียนรู้สำนวนจีนจากวิดีโอ ผ่านการสแกนคิวอาร์โค้ดในเอกสารประกอบการสอน (3) แบ่งกลุ่มผู้เรียนเขียนบทแสดงบทบาทสมมติตามเรื่องสำนวนจีนที่ได้รับมอบหมาย (4) ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมติ (5) ทดสอบออนไลน์ผ่าน ZOOM (6) มอบหมายทำแบบฝึกหัดท้ายบท (7) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่ออภิปรายและให้นักศึกษานำเสนอผลงาน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าเรียนใน KKU e-Learning และการมีส่วนร่วมใน Discussion forum |
|
20 | |
แบบฝึกหัด 4 ชิ้น |
|
20 | ส่งสัปดาห์ที่ 2,5,13,15 |
แบบฝึกหัดท้ายบทและแบบทดสอบ |
|
20 | |
งานกลุ่ม |
|
20 | ส่งสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนผ่านระบบ KKU e-Learning |
การสอบปลายภาค |
|
20 | Online Take home |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
กัลยาณี กฤตโตปการกิต (2562). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา HS 312 402 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | เสาวภาคย์ วรลัคนากุล.(2547). ตำราสุภาษิตจีน.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | 高 岩 (Gao Yan) 2016《成语的起源与来源》 (ที่มาของสำนวนจีน),《佳木斯职业学院》第六期。 | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | 黄伯荣、廖序东 (Huang Borong&Liao Xudong) 2002《现代汉语》(ภาษาจีนปัจจุบัน),北京:高等教育出版社 | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | 中国社会科学院 (Chinese Academy of Social Sciences) 2012《现代汉语词典第6版》(พจนานุกรมภาษาจีนปัจจุบันฉบับที่ 6),北京:商务印书馆。 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Handian. (9 มีนาคม 2561). 成语(สำนวนจีน). สืบค้นจาก www.zdic.net/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | 造句网https://zaojv.com | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | BCC语料库http://bcc.blcu.edu.cn | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | 汉辞网http://www.hydcd.com/cy/gushi/0318kt.htm | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | 在线成语词典http://cy.5156edu.com | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | https://haokan.baidu.com |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ