Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาจีน
Chinese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS313303
ภาษาไทย
Thai name
การอ่านข่าวภาษาจีน
ภาษาอังกฤษ
English name
Chinese News Reading
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS312104#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก วิชาเอกภาษาจีน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อรอนงค์ อินสอาด
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์อรอนงค์ อินสอาด
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    จริยธรรม
    Ethics
    • เป็นผู้ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ
    ทักษะ
    Skills
    • เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวแต่ละประเภท
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    • เป็นผู้ตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการความเข้าใจในการอ่านข่าว
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    คำศัพท์ สำนวนภาษา โครงสร้างและไวยากรณ์ในข่าวภาษาจีน หลักการอ่านข่าวเพื่อจับใจความสำคัญ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Vocabulary, expressions, structures, and grammar in Chinese language news; principles for identifying the main idea in news stories
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Task-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 1. แนะนำรายละเอียดรายวิชา คำอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์
    2. แจ้งแผนการสอนและข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับระเบียบในห้องเรียนและเกณฑ์การประเมินผล
    3. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์จีน
    4.ส่วนประกอบของข่าว
    5.ลักษณะสำนวนภาษาในข่าว
    6
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • S1: เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • E1: เป็นผู้ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ
    • C1: เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    (1) พบนักศึกษาเพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน
    (2) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (Clip 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์จีน ส่วนประกอบของข่าว ลักษณะสำนวนภาษาในข่าว
    (3) นักศึกษาอภิปราย ร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 Discussion Forums หัวข้อ “ความแตกต่างของหนังสือพิมพ์ไทยและจีน”
    (4) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
    3-4 1. กลวิธีการอ่านข่าวการเมือง
    2. คำศัพท์ และสำนวนภาษาที่เกี่ยวข้อง

    6
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    • S1: เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • S2: เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวแต่ละประเภท
    • C1: เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    • C2: เป็นผู้ตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการความเข้าใจในการอ่านข่าว
    (1) อาจารย์สอนความหมายของคำศัพท์ กลวิธีการอ่านข่าวการเมือง และสำนวนที่เกี่ยวข้อง
    (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 3-4 และสรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหาข่าว โดยทำinfographic สรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับประเด็นสำคัญของข่าว
    ส่งงานผ่านระบบ KKU E-Learning
    (3) อาจารย์เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนบางส่วนผ่านโปรแกรมZOOM
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางระบบ KKU E-Learning
    5-7 1. กลวิธีการอ่านข่าวเศรษฐกิจ
    2. คำศัพท์ และสำนวนภาษา และโครงสร้างประโยคที่เกี่ยวข้อง
    9
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    • S1: เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • S2: เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวแต่ละประเภท
    • C1: เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    • C2: เป็นผู้ตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการความเข้าใจในการอ่านข่าว
    (1) อาจารย์สอนความหมายของคำศัพท์ กลวิธีการอ่านข่าวการเมือง และสำนวนที่เกี่ยวข้องผ่านโปรแกรม ZOOM
    (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 5-7 และสรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหาข่าว โดยทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับประเด็นสำคัญของข่าว
    ส่งงานผ่านระบบ KKU E-Learning
    (3) อาจารย์เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางระบบ KKU E-Learning
    (5) นักศึกษากลุ่มที่ 1, 2 และ 3 นำเสนองานเรื่องการอ่านข่าวการเมือง และข่าวเศรษฐกิจ และกิจกรรมการถามตอบกับเพื่อนเพื่อความเข้าใจเนื้อหาของข่าว
    8-11 1. กลวิธีการอ่านข่าวสังคม
    2. คำศัพท์ และสำนวนภาษา และโครงสร้างประโยคที่เกี่ยวข้อง


    12
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    • S1: เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • S2: เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวแต่ละประเภท
    • C1: เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    • C2: เป็นผู้ตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการความเข้าใจในการอ่านข่าว
    (1) อาจารย์สอนความหมายของคำศัพท์ กลวิธีการอ่านข่าวสังคม และสำนวนที่เกี่ยวข้องผ่านโปรแกรม ZOOM
    (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 8-11 และสรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหาข่าว โดยทำinfographic สรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับประเด็นสำคัญของข่าว
    ส่งงานผ่านระบบ KKU e-Learning
    (3) อาจารย์เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางระบบ KKU E-Learning
    (5) นักศึกษากลุ่มที่ 4, 5, 6 และ 7 นำเสนองานเรื่องการอ่านข่าวการเมือง และข่าวเศรษฐกิจ และกิจกรรมการถามตอบกับเพื่อนเพื่อความเข้าใจเนื้อหาของข่าว
    (6)นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยทางระบบ KKU E-Learning
    12-14 1. กลวิธีการอ่านข่าวการศึกษา และวัฒนธรรม
    2. คำศัพท์ และสำนวนภาษา และโครงสร้างประโยคที่เกี่ยวข้อง



    9
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    • S1: เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • S2: เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวแต่ละประเภท
    • C1: เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    • C2: เป็นผู้ตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการความเข้าใจในการอ่านข่าว
    (1) อาจารย์สอนความหมายของคำศัพท์ กลวิธีการอ่านข่าวการศึกษาและวัฒนธรรม และสำนวนที่เกี่ยวข้อง
    (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 12-14 และสรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหาข่าว โดยทำinfographic สรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับประเด็นสำคัญของข่าว ส่งงานผ่านระบบ KKU E-Learning
    (3) อาจารย์เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางระบบ KKU E-Learning
    (5) นักศึกษากลุ่มที่ 8, 9 และ 10 นำเสนองานเรื่องการอ่านข่าวการเมือง และข่าวเศรษฐกิจ และกิจกรรมการถามตอบกับเพื่อนเพื่อความเข้าใจเนื้อหาของข่าว
    (6)นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยทางระบบ KKU E-Learning
    15 1.กลวิธีการอ่านข่าวสาธารณสุขและกีฬา
    2.คำศัพท์ และสำนวนภาษา และโครงสร้างประโยคที่เกี่ยวข้อง
    3
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    • S1: เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • S2: เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวแต่ละประเภท
    • C1: เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    • C2: เป็นผู้ตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการความเข้าใจในการอ่านข่าว
    (1) อาจารย์สอนความหมายของคำศัพท์ กลวิธีการอ่านข่าวการศึกษาและวัฒนธรรม และสำนวนที่เกี่ยวข้อง
    (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 12-14 และสรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหาข่าว โดยทำinfographic สรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับประเด็นสำคัญของข่าว ส่งงานผ่านระบบ KKU E-Learning
    (3) อาจารย์เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
    (4)นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางระบบ KKU E-Learning
    (5) นักศึกษากลุ่มที่ 11 และ 12 นำเสนองานเรื่องการอ่านข่าวการเมือง และข่าวเศรษฐกิจ และกิจกรรมการถามตอบกับเพื่อนเพื่อความเข้าใจเนื้อหาของข่าว
    (6)นักศึกษาทำแบบทดสอบย่อยทางระบบ KKU E-Learning
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การทดสอบย่อย
    งานเดี่ยว
    งานกลุ่ม
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    20
    โครงงาน
    งานเดี่ยว
    งานกลุ่ม
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    • S1: เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • S2: เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวแต่ละประเภท
    • C1: เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    • C2: เป็นผู้ตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการความเข้าใจในการอ่านข่าว
    10
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม การนำเสนอ
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    • S1: เกิดทักษะการอ่านเพื่อเข้าใจความหมาย และการจับใจความสำคัญ
    • S2: เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวแต่ละประเภท
    • E1: เป็นผู้ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ
    • C1: เป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    • C2: เป็นผู้ตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการความเข้าใจในการอ่านข่าว
    10
    การสอบกลางภาค
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    30
    การสอบปลายภาค
    • K1: รู้ความหมายคำศัพท์ใหม่ สำนวนภาษาข่าว การใช้คำศัพท์สำคัญ และโครงสร้างประโยคของข่าวแต่ละประเภท
    • K2: สามารถบอกใจความสำคัญและรายละเอียดของข่าว คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา 吴雅民 .(2009).读报知中国--------报刊阅读基础 (上),北京 :北京语言大学出版社.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. คุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
    2. ความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
    3. ทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ