Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
Major in Japanese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS321001
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 1
ภาษาอังกฤษ
English name
BASIC JAPANESE I
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • เลือกเสรี (Free elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัย ซื้อสัตย์ รับผิดชอบต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมญี่ปุ่นและไทยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม (R3C)
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาญี่ปุ่นระดับต้น เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันและเรียนรู้อักษรคันจิขั้นต้นประมาณ 50 ตัว
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Development of Japanese listening, speaking, reading and writing skills at the basic level for communication; learning approximately 50 characters of Kanji
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Flipped classroom
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-3 -แนะนำรายวิชา ข้อตกลง และการประเมินผล
    -แนะนำตัวอักษรทั้งหมดในภาษาญี่ปุ่น
    -ลำดับวิธีการเขียนและการอ่านตัวอักษรHiragana ひらがな แต่ละตัว
    -การประสมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันและลำดับวิธีการเขียน
    9
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    1. การแนะนำรายวิชาและการประเมินผล ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Zoom ของรายวิชานี้ และอธิบายการใช้ KKU e-learning ของรายวิชานี้ในการเรียนรู้
    2. บรรยายตัวอักษรและและวิธีการเขียนHiraganaของภาษาญี่ปุ่นด้วย Video clip ร่วมกับการบรรยายของอาจารย์ทางห้องเรียนออนไลน์ ZOOM ของรายวิชานี้
    และดูวิดิโอแนะนำตัวอักษรญี่ปุ่น
    (https://www.youtube.com/watch?v=hl61Nsm9qgY)
    ฝึกเขียนตาม
    http://japanese-lesson.com/characters/hiragana/hiragana_writing.html
    นักศึกษาสามารถดูซ้ำได้ลงไว้ที่ KKU e-learning HS321001
    3. ฝึกเขียนด้วยแบบฝึกหัดคัดตัวอักษรHiragana ด้วยword file และ PDF ลงไว้บนห้องเรียน KKU
    e-learning ของรายวิชานี้ ส่งในระบบ และ
    ฝึกจำและฝึกเขียนตัวอักษรด้วยวิดิโอ
    https://www.youtube.com/watch?v=aE3KFMJPmVk&list=PLr5cQ189Cs059HtjSjVc1KRgDuJHRt3v6&index=3
    4. ฝึกอ่านและเขียนคำศัพท์จากการประสมตัวอักษรที่เรียนไปและ
    5. ทำกิจกรรมกลุ่มฝึกจำคำศัพท์ผ่านกิจกรรมที่เตรียมให้ผ่านPlatform ออนไลน์ Kahoot
    6. ทำแบบฝึกหัดด้วยไฟล์ word ส่งในระบบ KKU e-learning ของรายวิชานี้
    4 วิธีการเขียนและการอ่านตัวอักษร ฮิรากานะ
    วิธีการเขียนและอ่านออกเสียง「゛」「゜」ในตัวอักษรHiragana
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    1. บรรยายตัวอักษรและหลักวิธีการเขียน「゛」「゜」เป็นคลิปวิดิโอใน KKU e-learning ของรายวิชานี้ ทางห้องเรียนออนไลน์ZOOM ของรายวิชานี้ และบรรยายร่วมกับ PPT
    2. จับกลุ่มฝึกอ่านและจำคำศัพท์ผ่านกิจกรรมที่เตรียมให้ผ่านPlatform ออนไลน์
    3. ทำแบบฝึกหัดด้วยไฟล์ word ส่งในระบบ KKU e-learning ของรายวิชานี้
    5-6 หลักการประสมเสียงของตัวอักษรฮิรากานะ
    - การเขียนและอ่านเสียงควบ ゃゅょเล็ก
    - การเขียนและอ่านเสียงกักっเล็ก
    คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    1. บรรยายตัวอักษรและและวิธีการเขียนและการอ่านゃゅょเล็กและฝึกอ่านคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ทางห้องเรียนออนไลน์ZOOM ของรายวิชานี้
    2. ฝึกจำคำศัพท์ผ่านกิจกรรมที่เตรียมให้
    3. นักศึกษาดูวิดิโอทบทวนตัวอักษรในKKU e-learning หัวข้อ “ทบทวนตัวอักษรและคำศัพท์ทั้งหมด”https://www.youtube.com/watch?v=oubJpBDQUWU&list=PLg0XvU6ufur1L2U2_ULJpE9fCPvaWPINT
    4. ทำแบบฝึกหัดด้วยไฟล์ word ส่งในระบบ KKU e-learning ของรายวิชานี้
    5. สอบย่อย online ครั้งที่ 1
    7 - หลักและวิธีการเขียน การอ่านและการประสมคำของตัวอักษรKatakana
    カタカナ
    - การเขียนและการอ่านตัวอักษรคาตาคานะแต่ละตัว
    - การใช้「゛」「゜」
    - การผสมคำเสียงต่าง ๆด้วยャュョ
    - การอ่านและเขียนคำศัพท์จากต่างประเทศ
    - คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    1. บรรยายตัวอักษรและวิธีการเขียนตัวอักษรKatakanaของภาษาญี่ปุ่นด้วยVideoและเอกสารประกอบการสอนPDF file และPPT ลงไว้ที่ในห้องเรียน KKU e-learning ของรายวิชานี้ หัวข้อ “ตัวอักษรKatakana” ทางห้องเรียนออนไลน์ZOOM ของรายวิชานี้
    2. ฝึกจำคำศัพท์ผ่านกิจกรรมที่เตรียมให้ผ่านPlatform ออนไลน์
    3. ทำแบบฝึกหัดส่งทางออนไลน์

    8 การสื่อสารในชีวิตประจำวัน
    วิธีการแนะนำตัวเองและสิ่งต่าง ๆรอบตัวตามบริบทต่าง ๆด้วยภาษาญี่ปุ่น
    - วิธีการแนะนำตนเองและวิธีการบอกเล่าสิ่งรอบตัวด้วยหลักโครงสร้างประโยคคำนาม NはNです。
    - หลักการใช้これ それ あれ
    - หลักการใช้คำเชื่อมพื้นฐาน は,も,か,の,とเพื่อสร้างประโยคพื้นฐาน
    - ลำดับวิธีการเขียนและอ่านออกเสียงคำศัพท์และตัวอักษรคันจิที่เกี่ยวข้องในการแนะนำตนเอง
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมญี่ปุ่นและไทยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม (R3C)
    1. บรรยายรูปแบบการแนะนำตัว คำเชื่อม รูปแบบประโยคและวิธีการเขียนตัวด้วยVideo clip ร่วมกับการบรรยายของอาจารย์ทางห้องเรียนออนไลน์ZOOM ของรายวิชานี้ ประกอบกับPPT
    วิดิโอการแนะนำตัวภาษาญี่ปุ่น: https://www.youtube.com/watch?v=vMPkeltUnvE
    วิดิโอแนะนำคำศัพท์คนในครอบครัวhttps://www.youtube.com/watch?v=kNS8zLVQiC0
    2. ทำแบบฝึกหัดฝึกแต่งประโยค
    3.นำเสนอการแนะนำตัวรายบุคคลและประโยคบอกเล่าอื่นที่เกี่ยวข้อง และให้นศ. แนะนำตัวกับเพื่อน
    4. ทำแบบฝึกหัด
    9-10 วิธีการทักทายในชีวิตประจำวัน
    - หลักและวิธีการอ่านเขียนและการกล่าวคำทักทาย คำขอโทษ คำขอบคุณ คำกล่าวอำลา ในสถานการณ์ต่าง ๆ
    - วิธีการอ่านและเขียนตัวเลขและการถาม-บอกเวลา เพื่อใช้พูดในสถานการณ์ทักทายเพื่อน
    - วิธีการใช้คำคุณศัพท์ที่ใช้ในการทักทายให้ตรงตามสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    - วิธีการใช้โครงสร้างไวยกรณ์ คำศัพท์และตัวอักษรคันจิที่เกี่ยวข้องการกับการทักทายในชีวิตประจำวัน
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมญี่ปุ่นและไทยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม (R3C)
    1. บรรยายเกี่ยวกับการทักทาย ตัวเลขและเวลา คำคุณศัพท์ที่เกี่ยวข้องด้วยVideo clip ร่วมกับการบรรยายของอาจารย์ทางห้องเรียนออนไลน์ZOOM ของรายวิชานี้ และใช้PPTประกอบการอธิบาย
    วิดิโอแนะนำสำนวนการทักทายภาษาญี่ปุ่น
    https://www.youtube.com/watch?v=_9SGosYArkk
    วิดิโอทักทายและแนะนำตัว
    https://www.youtube.com/watch?v=zYVlzvdYdiY
    2. ให้นักศึกษาฝึกอ่านบทสนทนาในเอกสารประกอบการเรียน PDF file
    3. จับคู่ฝึกสนทนาและทำแบบฝึกหัด word file
    4. สอบย่อย online ครั้งที่ 2
    11 การฟังพูดอ่านเขียนคำศัพท์ คำกริยาและการใช้ให้ตรงตามสถานการณ์ต่าง ๆ
    - วิธีการอ่านเขียนและการผันรูปคำศัพท์ต่าง ๆ
    - วิธีการแต่งประโยคด้วยไวยากรณ์และคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องในการทักทาย
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมญี่ปุ่นและไทยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม (R3C)
    1. บรรยายเกี่ยวกับคำกริยาและไวยกรณ์ที่เกี่ยวข้องด้วยVideo clip ร่วมกับการบรรยายของอาจารย์ทางห้องเรียนออนไลน์ZOOM ของรายวิชานี้
    2. ฝึกอ่านบทสนทนา ในเอกสารประกอบการเรียน PDF file
    3. ทำแบบฝึกหัด ส่งทางออนไลน์
    12-13 การสื่อสารในชีวิตประจำวัน
    วิธีการพูดชักชวนเพื่อนไปทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ซื้อของ เล่นกีฬา ท่องเที่ยว
    - วิธีการพูดอ่านเขียนวัน เดือน ปี และตัวเลขในภาษาญี่ปุ่น และวิธีการพูดบอกเวลาในชีวิตประจำวัน
    - วิธีการอ่านเขียนสำนวนและโครงสร้างประโยคในการชักชวนเพื่อนตามสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ซื้อของ ท่องเที่ยว เล่นกีฬา และกิจกรรมอื่น ๆ
    - วิธีการใช้ไวยกรณ์ คำศัพท์และตัวอักษรคันจิที่เกี่ยวข้องเหมาะสมกับการเขียนแต่งประโยคการชักชวนเพื่อนทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมญี่ปุ่นและไทยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม (R3C)
    1. บรรยายเกี่ยวกับการนับวันและเดือนในภาษาญี่ปุ่นและการเชิญชวนด้วย Video clip และ PPTร่วมกับการบรรยายของอาจารย์
    ดูวิดิโอการชักชวน : https://www.youtube.com/watch?v=3naGlyCSwiU
    2.ฝึกอ่านบทสนทนา ในเอกสารประกอบการเรียน PDF file
    3. ให้นักศึกษาลองแต่งประโยคชักชวนด้วยคำศัพท์และไวยกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ทางห้องเรียนออนไลน์ ZOOM ของรายวิชานี้
    4. ทำแบบฝึกหัด ส่งทางช่องทางออนไลน์
    5. สอบย่อย online ครั้งที่ 3
    14-16 วิธีการฟังพูดอ่านเขียนการบอกเล่ากิจกรรมยามว่างและกิจกรรมที่ตนเองสนใจด้วยคำศัพท์ต่าง ๆ
    - วิธีการบอกฤดูกาลของญี่ปุ่นและการเขียนอ่าน
    - วิธีการบอกปริมาณและระยะทางเพื่อพูดและเขียนบอกเล่ากิจกรรมของตนเอง
    - การใช้คำศัพท์เกี่ยวกับการทำกิจกรรมต่าง ๆอย่างเหมาะสม
    วิธีการอ่านเขียนไวยกรณ์และสำนวนคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการบอกเล่ากิจกรรมของตนเอง
    9
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมญี่ปุ่นและไทยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม (R3C)
    1.บรรยายเกี่ยวกับฤดูกาลของญี่ปุ่น ตัวเลขและการบอกปริมาณต่าง ๆ รวมถึงการแต่งประโยคบอกเล่าเกี่ยวกับกิจกรรมของตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆด้วยไวยกรณ์และโครงสร้างประโยคที่เกี่ยวข้องผ่านห้องเรียนออนไลน์ Zoom ของรายวิชานี้
    2. ให้นักศึกษาลองแต่งประโยคบอกเล่าเกี่ยวกับกิจกรรมของตนเองสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เพื่อนฟัง และช่วยกันแปลเป็นภาษาไทย
    3. นักศึกษาฝึกอ่านบทสนทนาในเอกสารประกอบการสอน และให้ลองแปลความหมาย
    4. ทำแบบฝึกหัดส่งทาง KKU e-learning


    รวมจำนวนชั่วโมง 48 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าเรียนในห้องเรียน
    KKU e-learningและZoom
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • A2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมญี่ปุ่นและไทยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม (R3C)
    5 ทุกครั้งที่มีเข้าเรียน
    แบบฝึกหัด
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • A2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมญี่ปุ่นและไทยและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม (R3C)
    10 ทุกสัปดาห์
    สอบย่อย
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    15 สัปดาห์ที่ 6 10 13
    สอบกลางภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    35 Online ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
    สอบปลายภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเขียนตัวอักษร และหลักการใช้ประโยค สำนวน และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับต้นที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันไปได้
    • S1: นักศึกษาสามารถฟังพูดอ่านเขียนตัวอักษร คำศัพท์ สำนวนและประโยคต่าง ๆได้อย่างถูกต้องตรงตามหลักการของภาษาญี่ปุ่นระดับต้นเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดและวิเคราะห์ได้ว่าในแต่ละสถานการณ์ควรใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างประโยคแบบใดในการสื่อสารในแต่ละสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
    • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    35 Online ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    e-Learning https://www.youtube.com/watch?v=hl61Nsm9qgY
    โปรแกรมวีดีทัศน์ http://japanese-lesson.com/characters/hiragana/hiragana_writing.html
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=aE3KFMJPmVk&list=PLr5cQ189Cs059HtjSjVc1KRgDuJHRt3v6&index=3
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=oubJpBDQUWU&list=PLg0XvU6ufur1L2U2_ULJpE9fCPvaWPINT
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=vMPkeltUnvE
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=zYVlzvdYdiY
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=_9SGosYArkk
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=zYVlzvdYdiY
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=3naGlyCSwiU
    หนังสือ หรือ ตำรา Japanese Language Center for International Students,Tokyo University Foreign Studies.(2015). Basic Japanese. Tokyo: Bojinsha
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)