Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS421102
ภาษาไทย
Thai name
มานุษยวิทยาวัฒนธรรมขั้นแนะนำ
ภาษาอังกฤษ
English name
INTRODUCTION TO CULTURAL ANTHROPOLOGY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม
จริยธรรม
Ethics
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ใน การอธิบายศึกษามีทักษะการทำรายงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย ขอบเขตของมานุษยวิทยา ระเบียบวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
    วิวัฒนาการของมนุษย์และเชื้อชาติทฤษฎีที่สำคัญทางมานุษยวิทยา สภาพแวดล้อมกับ
    การปรับตัวของมนุษย์ในสังคมที่มีวัฒนธรรมหลากหลายและขอบข่ายการศึกษาที่
    เกี่ยวข้อง เช่น ระบบเศรษฐกิจ ครอบครัว เครือญาติการเมือง การปกครองและระบบ
    ศาสนาภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning and scope of anthropology, methodology in anthropology,
    evaluation of human and race, major anthropological theories, environment
    and human adaptation in diversified cultural societies, and related studies in
    economic, politic family and kinship, and religious system under globalization
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชา
    ความหมาย ขอบเขตของมานุษยวิทยา
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom ชี้แจงและแจกแผนการสอน อธิบายวิธีการสอน เนื้อหาที่สอน เอกสารตำราและสื่อประกอบการสอน การประมวลผลรายวิชา การส่งงานผ่านระบบออนไลน์และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา
    2) การบรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับขอบข่ายมานุษยวิทยา
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    2-3 ประวัติศาสตร์ของสาขาวิชามานุษยวิทยา 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา ผ่านโปรแกรม Zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อ และตอบคำถาม
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    4-5 ขอบเขตและระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยา 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อเกี่ยวกับวิวัฒนาการของมนุษย์และเชื้อชาติ ผ่านโปรแกรม Zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อโดยให้ตอบคำถาม
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    6-7 มานุษยวิทยา แนวคิด ทฤษฎีและมโนทัศน์ในการศึกษาทางมานุษยวิทยาในแต่ละสำนัก 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อเกี่ยวกับตัวอย่างการทำความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรม ผ่านโปรแกรม Zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อโดยสอบถามในชั้นเรียนหลังดูสื่อและให้ทำรายงานค้นคว้าวิจัยรายบุคคล
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    8-9 แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาวัฒนธรรม 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt. ผ่านโปรแกรม Google classroom
    2) ให้ค้นคว้าเอกสารทำรายงานเกี่ยวกับทฤษฎีโดยจับคู่ทำงาน
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน


    KKU e-Learning
    10 ครอบครัวและเครือญาติ 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อเกี่ยวกับรูปแบบวัฒนธรรมในการปรับตัวของมนุษย์ ผ่านโปรแกรม Zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อโดยให้ทำแบบฝึกหัดon-line
    3) มอบหมายให้จับกลุ่มค้นคว้า
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    11 มานุายวิทยาเศรษฐกิจ 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อเกี่ยวกับรูปแบบวัฒนธรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
    ผ่านโปรแกรม Zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อโดยให้ทำแบบฝึกหัด
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    12 มานุษยวิทยาศาสนาและความเชื่อ 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อเกี่ยวกับรูปแบบวัฒนธรรมการปกครองของมนุษย์ ผ่านโปรแกรม zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อโดยให้ทำแบบฝึกหัดon-line
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    13 มานูายวิทยาและการเมืองการปกครอง 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อเกี่ยวกับรูปแบบระบบความเชื่อทางศาสนา ผ่านโปรแกรม Zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อโดยให้ทำแบบฝึกหัดon-line
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    14 ชาติพันธุ์และพหุวัฒนธรรม 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ใน การอธิบายศึกษามีทักษะการทำรายงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อเกี่ยวกับรูปแบบระบบความเชื่อทางศาสนา ผ่านโปรแกรม Zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อโดยให้ทำแบบฝึกหัดon-line
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    15 มานุษยวิทยาในกระแสโลกาภิวัฒน์ 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ใน การอธิบายศึกษามีทักษะการทำรายงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อเกี่ยวกับรูปแบบระบบความเชื่อทางศาสนา ผ่านโปรแกรม Zoom
    2) วัดความเข้าใจจากการชมสื่อโดยให้ทำแบบฝึกหัดon-line
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    สอบกลางภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ใน การอธิบายศึกษามีทักษะการทำรายงาน
    20
    Quiz ท้ายชั่วโมง
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ใน การอธิบายศึกษามีทักษะการทำรายงาน
    10
    รายงาน
    - ค้นคว้าทฤษฎี
    - การศึกษารูปแบบวัฒนธรรมในการปรับตัว
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆในสังคม
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S2: นักศึกษามีทักษะความสามารถในการวิเคราะห์อย่างเป็นองค์รวม
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ใน การอธิบายศึกษามีทักษะการทำรายงาน
    30
    สอบปลายภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    30
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในขอบข่ายและหลักการและทฤษฎีในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจ ในพัฒนาการใหม่ๆในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: นักศึกษามีทักษะการค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากตำรา เอกสาร สื่อต่างๆและจากคำบอกเล่าของอารย์
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ใน การอธิบายศึกษามีทักษะการทำรายงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    10
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา สมใจ ศรีหล้า.2562. เอกสารประกอบการสอน วิชา 415 120มานุษยวิทยาขั้นแนะนำ. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    หนังสือ หรือ ตำรา อาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2538. สังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา อาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.2543. แนวความคิดพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม. เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์.
    หนังสือ หรือ ตำรา งามพิศ สัตย์สงวน.2535.หลักมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ : ภาควิชฃาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐสาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา -------------.2535. การวิจัยทางมานุษยวิทยา กรุงเทพฯ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา -------------.2545.มานุษยวิทยาวัฒนธรรม กรุงเทพฯ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา พัทยา สายหู. 2540.กลไกของสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา ยศ สันตสมบัติ.(ผู้รวบรวม) 2531. สืบสายเลือด กรุงเทพฯสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา ------------.2538.มนุษย์กับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา สมศักดิ์ ศรีสันติสุข.2538.สังคมไทย : แนวทางวิจัยและพัฒนา. กรุงเทพฯ : แพร่วิทยา.
    หนังสือ หรือ ตำรา สุริชัย หวันแก้ว. 2547. เผชิญหน้าโลกาภิวัฒน์ทางวัฒนธรรม: นโยบายวัฒนธรรมในบริบทใหม่กรุงเทพฯ ศูนย์การศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา อานันท์ กาญจนพันธุ์. 2540. วัฒนธรรมกับการพัฒนา: มิติของพลังที่สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ