Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423302
ภาษาไทย
Thai name
สังคมวิทยาองค์กร
ภาษาอังกฤษ
English name
ORGANIZATION SOCIOLOGY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและสิ่งแวดล้อมได้
    • ผู้เรียนสามารถเข้าใจและอธิบายได้ถึงการเปลี่ยนแปลงขององค์การและการมาถึงขององค์การรูปแบบใหม่
    จริยธรรม
    Ethics
    • ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์การ
    ทักษะ
    Skills
    • เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของชุมชนท้องถิ่น (R3C)
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสังคมวิทยาองค์กร รูปแบบและบทบาทขององค์กรในสังคม สมัยใหม่และหลังสมัยใหม่ การวิเคราะห์องค์กรและความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์กร
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Concept and theories related to sociology of organization, forms and functions of organization in modern and postmodern societies, organizational analysis and inter-organization changes and development.
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 แนะนำหัวข้อ, รายละเอียดเนื้อหาของรายวิชาที่เรียน, การวัดและประเมินผล,วิธีการสอน
    บทที่ 1แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับองค์การ
    - องค์การคืออะไร
    - องค์ประกอบขององค์การที่ซับซ้อน
    - องค์การตามทัศนะของ Chester I. Barnard
    - องค์การที่เป็นทางการ
    - องค์การและการจัดการ
    - องค์การที่เป็นระบบเปิดและระบบปิด
    6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    • E1: ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์การ
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning,
    2) เริ่มต้นสอนบทที่ 1 เรื่องแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับองค์การ
    3) สรุปหัวข้อการบรรยาย ให้มีการสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายถกเถียงกัน
    มอบหมายให้ทำรายงานย่อย 1 ชิ้น
    3-4 บทที่ 2 องค์การแบบระบบราชการ (Bureaucracy)
    - การเกิดขึ้นขององค์การแบบระบบราชการ
    - ทฤษฎีองค์การแบบระบบราชการตามแนวคิดของ Max Weber
    - การเสียระเบียบหรือความผิดปรกติขององค์การแบบระบบราชการ
    - องค์การแบบระบบราชการกับแนวคิด McDonaldization ของ George Ritzer
    - Robert Michels กับกฎเหล็กแห่งคณาธิปไตย
    6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    • E1: ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์การ
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning,
    2) สอนบทที่ 2 เรื่ององค์การแบบระบบราชการ
    3) สรุปหัวข้อการบรรยาย ให้มีการสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง
    4) มอบหมายให้ทำรายงานย่อย 1 ชิ้น
    5-6 บทที่ 3 สิ่งแวดล้อมองค์การ (Organizational Environment)
    - ความหมายของสิ่งแวดล้อมองค์การ
    - ประเภทของสิ่งแวดล้อมองค์การ
    - ลักษณะของสิ่งแวดล้อมองค์การตามแนวคิดของ Tom Burns and G.M. Stalker
    - ทฤษฎีการพึ่งพาทรัพยากรกับสิ่งแวดล้อมองค์การ
    - กลยุทธ์การจัดการสิ่งแวดล้อมองค์การ
    6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและสิ่งแวดล้อมได้
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    • E1: ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์การ
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning,
    2) สอนบทที่ 3 เรื่องสิ่งแวดล้อมองค์การ
    3) สรุปหัวข้อการบรรยาย ให้มีการสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง
    4) มอบหมายให้ทำรายงานย่อย 1 ชิ้น

    7-8 บทที่ 4 วงจรชีวิตองค์การ (life cycle of organizations)
    - ขั้นตอนในวงจรชีวิตขอององค์การ
    - การจัดการวงจรชีวิตขอองค์การ
    - สาเหตุที่ทำให้องค์การเสื่อมและตาย
    - จุดจบขององค์การ
    6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    • E1: ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์การ
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning
    2) สอนบทที่ 3 เรื่องสิ่งแวดล้อมองค์การ
    3) สรุปหัวข้อการบรรยาย เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการสอบถาม,แลกเปลี่ยนความคิดเห็น,
    การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง



    9-11 บทที่ 5 วัฒนธรรมองค์การ (Organizational Culture)
    - ลักษณะทั่วไปของวัฒนธรรมองค์การ
    - ความหมายวัฒนธรรมองค์การ
    - ประเภทวัฒนธรรมองค์การ
    - วัฒนธรรมองค์การเกิดขึ้นได้อย่างไร
    - กระบวนการปลูกฝังวัฒนธรรมองค์การ
    - ระดับของวัฒนธรรมองค์การ
    - การจัดการวัฒนธรรมองค์การ
    9
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและสิ่งแวดล้อมได้
    • K3: ผู้เรียนสามารถเข้าใจและอธิบายได้ถึงการเปลี่ยนแปลงขององค์การและการมาถึงขององค์การรูปแบบใหม่
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    • E1: ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์การ
    • C1: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของชุมชนท้องถิ่น (R3C)
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet, มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning,
    2) สอนบทที่ 3 เรื่องสิ่งแวดล้อมองค์การ
    3) สรุปหัวข้อการบรรยาย ให้มีการสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง
    4) มอบหมายให้ทำรายงานย่อย 1 ชิ้น

    12-15 บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์การ (Organizational Change and Development)
    - ความหมายและลักษณะการเปลี่ยนแปลงขององค์การ
    - สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงองค์การ
    - แนวทางและขั้นตอนในการเปลี่ยนแปลง
    - วิธีการลดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
    - ที่มาของการพัฒนาองค์การ
    - ความหมายของการพัฒนาองค์การ
    - ลักษณะสำคัญของการพัฒนาองค์การ
    - ฐานคติของการพัฒนาองค์การ
    - วัตถุประสงค์และความจำเป็นในการพัฒนาองค์การ
    - กระบวนการและขั้นตอนในการพัฒนาองค์การ
    12
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและสิ่งแวดล้อมได้
    • K3: ผู้เรียนสามารถเข้าใจและอธิบายได้ถึงการเปลี่ยนแปลงขององค์การและการมาถึงขององค์การรูปแบบใหม่
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    • E1: ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์การ
    • C1: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของชุมชนท้องถิ่น (R3C)
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet มีการชี้แจงและแนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ kku e-learning,
    2) สอนบทที่ 3 เรื่องสิ่งแวดล้อมองค์การ
    3) สรุปหัวข้อการบรรยาย, เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการสอบถาม,แลกเปลี่ยนความคิดเห็น,
    การอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนเสมือนจริง

    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    รายงาน 4 ชิ้น
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและสิ่งแวดล้อมได้
    • K3: ผู้เรียนสามารถเข้าใจและอธิบายได้ถึงการเปลี่ยนแปลงขององค์การและการมาถึงขององค์การรูปแบบใหม่
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    • E1: ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์การ
    • C1: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของชุมชนท้องถิ่น (R3C)
    40
    การเข้าชั้นเรียนใน kku
    e-learning และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    15
    สอบปลายภาค
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายขององค์การ แนวคิดทฤษฎีองค์การ วงจรชีวิตองค์การ องค์การแบบระบบราชการ วัฒนธรรมองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ
    • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและสิ่งแวดล้อมได้
    • K3: ผู้เรียนสามารถเข้าใจและอธิบายได้ถึงการเปลี่ยนแปลงขององค์การและการมาถึงขององค์การรูปแบบใหม่
    • S1: เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
    • S2: เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
    45
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.). (2548). แผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบ
    ราชการไทย(พ.ศ. 2546-พ.ศ.2550). [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
    http:www.opdc.go.th/Plan/File-download/1094474995 .pdf. 22 เมษายน 2548
    หนังสือ หรือ ตำรา จุมพล หนิมพานิช. (2538). ระบบราชการเปรียบเทียบ. ในเอกสารการสอนวิชาการบริหารรัฐกิจ
    เปรียบเทียบและการบริหารการพัฒนา หน่วยที่ 1-17. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช,
    หนังสือ หรือ ตำรา จุมพล หนิมพานิช.(2552). การพัฒนาองค์การ. ใน การบริหารและการพัฒนาองค์การ.
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชารัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
    หนังสือ หรือ ตำรา เจษฎา นกน้อย. (2554). แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ร่วมสมัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ชนิดา จิตตรุทธะ (2554). “ความไม่สอดคล้องระหว่างวัฒนธรรมองค์การและวัฒนธรรมปัจเจกบุคคล : การปะทะทางวัฒนธรรมในองค์การวิชาชีพ. วารสารการเมืองการปกครอง, 1,2 (มีนาคม – สิงหาคม) หน้า 126 – 146.
    หนังสือ หรือ ตำรา ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร.(2540). การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
    หนังสือ หรือ ตำรา ตินปรัชญพฤทธิ์. (2538).ศัพท์รัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
    หนังสือ หรือ ตำรา ไทยรัฐ. (2559). “วาทกรรมแก้ปัญหาราคาข้าว ผลประโยชน์บนคราบน้ำตา
    ชาวนา.” จันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน. หน้า 8.
    หนังสือ หรือ ตำรา ประเวศ วะสี. (2548). การจัดการความรู้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ
    เสรีภาพ และความสุข. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
    หนังสือ หรือ ตำรา พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). องค์การและการบริหารจัดการ. นนทบุรี :ธิงค์ บียอนด์.
    หนังสือ หรือ ตำรา พิทยา บวรวัฒนา.(2541).รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา (ค.ศ.1887- ค.ศ.1970)พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2551). “กลยุทธ์การสร้างความอยู่รอดขององค์การพัฒนาเอกชนไทย :
    การวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีพึ่งพาทรัพยากร”. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 25,3 (กันยายน – ธันวาคม). น. 22 – 56.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม พีระพงษ์ สุนทรวิภาค. (2558). “วัฒนธรรมกับการพัฒนาความเข้มแข็งของสหภาพแรงงานใน
    ภาคตะวันออกของไทย”. การเมือง การบริหาร และกฎหมาย.7,7 (กันยายน – ธันวาคม). น. 145 – 169.
    หนังสือ หรือ ตำรา นิตยา เงินประเสริฐศรี.(2542). ทฤษฎีองค์การ: แนวทางการศึกษาเชิงบูรณาการ.(พิมพ์ครั้งที่ 3) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา ยุรพร ศุทธรัตน์. (2553). องค์การเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา ราชบัณฑิตยสถาน. (2532). พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษ – ไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ.
    หนังสือ หรือ ตำรา สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. (2543).สาธารณบริหารศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. (2551). แนวความคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. เชียงใหม่ : ธนุชพริ้นติ้ง.
    หนังสือ หรือ ตำรา สุจิตรา ธนานันท์. (2550). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา สุธรรม รัตนโชติ (แปลและเรียบเรียง).(2552). พฤติกรรมองค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท็อป.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ทศพร ศิริสัมพันธ์.(2547).การจัดการภาครัฐสมัยใหม่.[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
    http://www.opdc.go.thสืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2547.
    หนังสือ หรือ ตำรา ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2549).ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารราชการแนวใหม่. สำนักงานคณะกรรมพัฒนาระบบราชการ. กรุงเทพฯ,
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (25559). www.eduzones.com สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559.
    หนังสือ หรือ ตำรา วันชัย มีชาติ. (2554). การบริหารองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ อมร จันทรสมบูรณ์. 2550. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา
    http:www.pub-law.net/printPublaw.asp?Publawid=1162 20 ธันวาคม 2550.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ อุดร ตันติสุนทร. การกระจายอำนาจการปกครองญี่ปุ่น.(2548). [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
    http://www.matichon.co.th. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2556.
    หนังสือ หรือ ตำรา อัมพร ธำรงลักษณ์. (2551). องค์การ : ทฤษฎี โครงสร้าง และการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา อัมพร ธำรงลักษณ์. (2551). องค์การ : ทฤษฎี โครงสร้าง และการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา Adler, Paul S. (2009). The Oxford Handbook of Sociology and Organization Studies :
    Classic Foundations. Oxford : Oxford University Press.
    หนังสือ หรือ ตำรา Aldrich, Howard & Pfeffer, Jeffrey. (2002). Environments of Organizations : Central
    Currents in Organization Studies. New York : SAGE Publications.
    หนังสือ หรือ ตำรา Alvesson, Mats (2013). Understanding Organizational Culture. (2nd Edition) California :
    SAGE Publications Inc.
    หนังสือ หรือ ตำรา Alvessson, Mats & Sveningsson, Stefan (2016). Changing Organizational Culture :
    Cultural Change Work in Progress. (2nd Edition).New York : Routledge.
    หนังสือ หรือ ตำรา Argenti, J. (1976). Corporate Collapse: The Causes and Symptoms. New York: McGraw Hill.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Balbis, J. (2008). NGOs Governance and Development in Latin America and the
    Caribbean. Available from http://Unesco.prg/most/dsp53_en.htm;Internet;
    Accessed July 8. 2005.
    หนังสือ หรือ ตำรา Bernard, Chester. I. (1938). The Functions of the Executive. Cambridge, Mass: Harvard University Press.
    หนังสือ หรือ ตำรา Beckhard, Richard. (1989). Organizational Development : Strategies and Models. New York : Addison-Wesley.
    หนังสือ หรือ ตำรา Beckhard, Richard. (1989). Organizational Development : Strategies and Models. New York : Addison-Wesley.
    หนังสือ หรือ ตำรา Bennet, A. &Bennet, D. (2004). Organizational Survival in the New World: The Intelligent Complex Adaptive System. Boston: Butterworth-Heinemann.
    หนังสือ หรือ ตำรา Bennis, Warren G. & Schein, Edgar G.(1969).Organization Development : Its Nature, Origins and Prospects. New York : Pearson Education.
    หนังสือ หรือ ตำรา Bennis, Warren G.(1995). The 21st Century Organization: Reinventing through Reengineering. San Francisco: Jossey-Bass.
    หนังสือ หรือ ตำรา Bennet, Alex & Bennet, David (2004). Organizational Survival in the New World : The Intelligent Complex Adaptive System. New York : ELSVIER
    หนังสือ หรือ ตำรา Cameron, Gary. (1997). Protecting Children and Supporting Families : Promising Programs and Organizational Realities. New York : Aldine De Gruyter.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ