รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1.1 ชี้แจงรายละเอียดเนื้อหา - กระบวนการเรียนการสอน - การฝึกปฏิบัติ - การนำเสนอผลงานและข้อเสนอแนะ - การสอน 1.2 การปรับความคาดหวังและการมีส่วนร่วมออกแบบกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับนักศึกษา |
3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน (2) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน (3)มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเอกสารประกอบการสอน สรุปความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของกระบวนการเรียนรู้ ในหัวข้อที่จะเรียนในสัปดาห์ต่อไป |
|
2-3 |
แนวคิด/ทฤษฎีการสื่อสาร - ความหมายและความสำคัญ - วัตถุประสงค์ - ประเภท - แบบจำลองกระบวนการสื่อสาร - หลักการสื่อสารเพื่อการพัฒนา |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet e-Learning ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
|
4-5 |
- สื่อมวลชนและสื่อสาธารณะ - ความหมาย - พัฒนาการในโลกตะวันตกและไทย - อิทธิพลของสื่อมวลชน - บทบาทของสื่อ - แนวทางการพัฒนาสื่อกับงานพัฒนา |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน บทวิจัย หรือบทความวิชาการ e-Learning YouTube หนังสือ หรือ ตำรา |
|
6-7 |
-การผลิตสื่อเพื่อการพัฒนา - ความสำคัญและความจำเป็น - เทคนิคการผลิตสื่อ - ตัวอย่างและคำอธิบาย - ฝึกปฏิบัติจริงและนำเสนอ |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน e-Learning บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
|
8-9 |
สื่อบุคคล - ความหมาย - บทบาททางความคิด, ศีลธรรม,อาชีพ, การพูด,ประสานทรัพยากร - สื่อบุคคลกับการพัฒนา |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา |
|
10-11 |
- เทคนิคการเขียนข่าวในการพัฒนา - ข่าวในการพัฒนาคืออะไร - แนวคิดในการทำและเขียนข่าว - กรณีตัวอย่างและแง่คิดที่สำคัญ - เทคนิคการเขียนข่าวในงานพัฒนา - ออกแบบและฝึกปฏิบัติจริง |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet e-Learning ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|
12-13 |
-สื่อพื้นบ้านในการพัฒนา - ความหมาย - ประเภท - พัฒนาการ - บทบาท - สื่อพื้นบ้านกับการพัฒนา - แนวทางการพัฒนาสื่อ - ออกแบบและฝึกปฏิบัติจริง - การใช้สื่อออนไลน์เพื่อการพัฒนา - ความหมาย - ประเภท - พัฒนาการ - บทบาทของสื่อออนไลน์ในการพัฒนา - แนวทางการพัฒนาสื่อออนไลน์ในการพัฒนา - ออกแบบและฝึกปฏิบัติจริง |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
|
14-15 |
- วิทยุเพื่อการพัฒนา - ความหมายและแนวคิด - การจัดรูปแบบรายการ - เทคนิคการสัมภาษณ์ - การจัดรายการเชิงข่าว,สารคดี - ออกแบบและฝึกปฏิบัติจริง - สื่อมวลชนในการพัฒนา - พัฒนาการของสื่อมวลชน - ความสำคัญของสื่อมวลชนต่อการพัฒนา - ประเภทของสื่อมวลชน - จริยธรรมของสื่อต่อการพัฒนา สรุปบทเรียนและประเมินผล |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน e-Learning หนังสือ หรือ ตำรา Google Classroom |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
10 | |
งานเดี่ยว |
|
20 | มอบหมายงานให้เขียนข่าวและบทความ |
งานกลุ่ม |
|
30 | ออนไลน์ ทำคลิปพัฒนาและสรุปดูงาน |
งานเดี่ยว |
|
10 | วิจารณ์สื่อเชิงสร้างสรรค์ (ข่าวและโฆษณาดีๆ) |
สอบปลายภาค |
|
30 | เป็นการสอบออนไลน์ หรือ open book |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
กาญจนา แก้วเทพและคณะ. 2543. สื่อเพื่อชุมชน การประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพฯ :สำนักงาน สนับสนุนการวิจัย (สกว.). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
เกศินี จุฑาวิจิตร. 2548. การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครปฐม. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
คมสันต์ หุตะแพทย์. 2535. การสื่อสารเพื่องานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นวลน้อย ตรีรัตน์ และกนกศักดิ์ แก้วเทพ. 2547. เสรีภาพสื่อไทยในยุคเศรษฐกิจการเมืองผูกขาด. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปาริชาติ สถาปิตานนท์. 2549. การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมและพัฒนาชุมชน : จากแนวคิดสู่ ปฏิบัติการวิจัยในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ณรงค์ เพชรประเสริฐ. 2546. สื่อมวลชนบนเส้นทางทุนนิยม. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์ การเมือง. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. 2545. สื่อมวลชนในยุคปฏิรูป. กรุงเทพฯ : มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและ การพัฒนา. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สมพันธ์ เตชะอธิก. 2536. เทคนิคการเขียนบทความให้ประสบผลสำเร็จ. ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ