รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
สารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
การจัดการสารสนเทศดิจิทัล 1.1ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ ในสภาพแวดล้อมดิจิทัล 1-2 การจัดการสารสนเทศ ในสภาพแวดล้อมดิจิทัล 1.3 ทฤษฎีและแนวทางในการจัดความรู้ แบบแผนและระบบการจัดความรู้ 1.4 การวิเคราะห์สังเคราะห์สารสนเทศ 1.5การสร้างตัวแทนและระบบความรู้ การจัดสารสนเทศ |
30 |
|
1.แนะนำการจัดการเรียนการสอนของชุดวิชา 2.ประเมิน: ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 3.ทรัพยากรการเรียนรู้: : การเรียนในห้องเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ดิจิทัล (LMS): Google classroom Canvas หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom 3.1 บทเรียนสื่อการสอนออนไลน์ 3.2 วิดีโอคลิป (10-15 นาที) 3.3 เอกสารประกอบการเรียนทั้ง 5 หัวข้อย่อย 3.4 แหล่งเรียนรู้ภายนอก (Links to external resources) 4.กิจกรรมการเรียนรู้: 4.1 ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ปัญหาการจัดการสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล จำนวน 2 ครั้ง 4.2 ทำโครงงานย่อยการจัดสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล 4.3 ทบทวนและสอบย่อย |
|
2 |
2เมทาดาทาสำหรับสารสนเทศดิจิทัล 2.1เมทาดาทาสำหรับสารสนเทศดิจิทัล: แนวคิด หน้าที่ ประเภท แบบแผนและการใช้เมทาดาทา 2.2 การใช้ SEO (Search Engine Optimization) กับการพัฒนาเมทาดาทาสารสนเทศดิจิทัล 2.3 การพัฒนาเมทาดาทา |
30 |
|
1.ประเมิน: ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 2.ทรัพยากรการเรียนรู้: : การเรียนในห้องเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ดิจิทัล (LMS): Google classroom Canvas หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom 2.1 บทเรียนสื่อการสอนออนไลน์ 2.2 วิดีโอคลิป (10-15 นาที) 2.3 เอกสารประกอบการเรียนทั้ง 3 หัวข้อย่อย 3.4 แหล่งเรียนรู้ภายนอก (Links to external resources) 3.กิจกรรมการเรียนรู้: 3.2 ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ปัญหาเมทาดาทาสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล จำนวน 2 ครั้ง 3.3 ทำโครงงานย่อยเมทาดาทาสารสนเทศ ในสภาพแวดล้อมดิจิทัล 3.4 ทบทวนและสอบย่อย |
|
3 |
3:การพัฒนาเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล 3.1เครื่องมือและการเข้าถึง:หลักการและแนวคิด Indexing; Keywords; Folksonomy 3.2เครื่องมือและการเข้าถึง:หลักการและแนวคิด Subject Heading: Thesaurus; ontology 3.3 การค้นคืนสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล |
30 |
|
1.ประเมิน: ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 2.ทรัพยากรการเรียนรู้: การเรียนในห้องเรียน/และหรือการจัดการเรียนรู้ดิจิทัล (LMS): Google classroom Canvas หรือผ่านโปรแกรมประชุมทางไกล: Zoom 2.1 บทเรียนสื่อการสอนออนไลน์ 2.2 วิดีโอคลิป (10-15 นาที) 2.3 เอกสารประกอบการเรียนทั้ง 3 หัวข้อย่อย 2.4 แหล่งเรียนรู้ภายนอก (Links to external resources) 3. กิจกรรมการเรียนรู้: 3.1 ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ปัญหาเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล จำนวน 2 ครั้ง 3.2 ทำโครงงานย่อยเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล 3.3 ทบทวนและสอบย่อย |
|
4 |
4:โครงงานการจัดการสารสนเทศดิจิทัล (Pre-requisite: จะต้องผ่านการเรียนหัวข้อ 1-3) 4.1 การจัดการสารสนเทศ: เค้าโครง 4.2 การจัดการสารสนเทศ: การนำไปใช้ 4.3 การจัดการสารสนเทศ: รายงานโครงงาน |
30 |
|
1.แนะนำการทำโครงงานการจัดการสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล 2, ทรัพยากรการเรียนรู้: กรณีศึกษา, ตัวอย่างของโครงงาน 3. กิจกรรมการเรียนรู้ 3.1 นักศึกษาเข้าพบที่อาจารย์ผู้สอนตามกำหนดระยะเวลาเพื่อรายงานความก้าวหน้าโครงงานการจัดการสารสนเทศ 4.ประเมินผล 4.1 โครงงานการจัดการสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัลและนำเสนอผลงาน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 120 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
1: การจัดการสารสนเทศดิจิทัล |
|
25 |
1.ผ่านการฝึกปฏิบัติการ จำนวน 2 ครั้ง 2.ผ่านการทำโครงงานย่อยการจัดสารสนเทศ 3.ผ่านการทดสอบ-หลังเรียน |
2:เมทาดาทาสำหรับสารสนเทศดิจิทัล |
|
25 |
1.ผ่านการฝึกปฏิบัติการ จำนวน 2 ครั้ง 2.ผ่านการทำโครงงานย่อยการจัดสารสนเทศ 3.ผ่านการทดสอบ-หลังเรียน |
3:การพัฒนาเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศในสภาพแวดล้อมดิจิทัล |
|
25 |
1.ผ่านการฝึกปฏิบัติการ จำนวน 2 ครั้ง 2.ผ่านการทำโครงงานย่อยการจัดสารสนเทศ 3.ผ่านการทดสอบ-หลังเรียน |
4:โครงงานการจัดการสารสนเทศดิจิทัล |
|
25 | ความสมบูรณ์ของโครงงาน โจทย์ปัญหา การออกแลล การพัฒนา ความรู้ใหม่และการนำไปประยุกต์ใช้ และคุณภาพของโครงงาน |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | มาลี กาบมาลา. (2563). การจัดสารสนเทศและความรู้ในสภาพแวดล้อมสารสนเทศดิจิทัล. ขอนแก่น: สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
เอกสารประกอบการสอน |
Abbas, June. (2010). Structures for Organizing Knowledge: Exploring Taxonomies, Ontologies, and Other Schemas. NewYork: Neal-Schuman Publisher. |
||
เอกสารประกอบการสอน |
Barre , Kathryn La (2006) The Use of Faceted Analytico-Synethic Theory as Revealed in the Practice and Construction of Website Design. Doctor of Philosophy in the School of Library and Information Science, Indiana University. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
Broughton, V. (2006). The Need for a Faceted Classification as the Basis of all Methods of Information Retrieval. Aslib Proceedings: New Information Perspective, 58(1/2), 49 - 72. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
Broughton, V., & Slavic, A. (2007). Building a Faceted Classification for the Humanities: Principles and Procedures. Journal of Documentation, 63(5), 727 - 754 |
||
เอกสารประกอบการสอน |
Chaffey, D. (2015). Digital business and e-commerce management: strategy, implementation and practice. 6th ed. Harlow: Pearson Education. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Chowdhury, G. G. & Sudatta, Chowdhury. (2007). Organizing Information: From the Shelf to the Web. London: Facet Publishing. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Dahlberg, Ingetraut. (2006). Knowledge Organization: A New Science? Knowl. Org. 33(1): 11-19. Dye, J. (2006). Folksonomy: A game of high-tech (and high-stakes) tags. Retrieved June 27, 2014, from http://www.econtentmag.com/Articles/Editorial/Feature/Folksonomy-A-Gameof-Hightech- (and-High-stakes)-Tag-15298.htm |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
Ferrucci, D. & Lally, A. (2004). Building an example application with the unstructured information management architecture. IBM Systems Journal. 43: 455-475. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Giri , Kaushal & Gokhale, Pratibha. (2015). Developing a banking service ontology using Protégé, an open source software. Annals of Library and Information Studies 62: 281-285. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Hjorland, B. (2012). Knowledge organization = information organization? https://www.researchgate.net/publication/289760020 All content following this page was uploaded by Birger Hjørland on 16 December 2016. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
________. (2013). Facet analysis: The logical approach to knowledge organization. Information Processing and Management. 49 (2013): 545–557. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
Jason, Morrison P. (2008). Tagging and searching: Search retrieval effectiveness of folksonomies on the World Wide Web. [doi: 10.1016/j.ipm.2007.12.010]. Information Processing & Management. 44(4): 1562-1579. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Kakali, C., & Papatheodorou, C. (2010). Exploitation of folksonomies in subject analysis. [doi: 10.1016/j.lisr.2010.04.001]. Library & Information Science Research. 32(3): 192-202. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Kiu, C.-C., & Tsui, E. (2011). TaxoFolk: A hybrid taxonomy–folksonomy structure for knowledge classification and navigation. [doi: http://dx.doi.org/10.1016/j.eswa.2010.11.014] Expert Systems with Applications. 38(5): 6049-6058. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Lovinger, Rachel. (2012). Metadata workshop. Slides from my Metadata Workshop at Content Strategy Applied 2012. https://www.slideshare.net/rlovinger/metadata-workshop |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
Luiz, H. M., Jennie, Q.-S., & Danielle, S. (2009). Subjecting the catalog to tagging. [doi:10.1108/07378830910942892]. Library Hi Tech. 27(1): 30-41. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Manouselis, N. (2005). Electronic Markets: Literature review, classification, and identification of open issues, Technical Report No176, Informatics Laboratory, Agricultural University of Greece, http://e-services.aua.gr. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Manouselis, N., & Costopoulou, C. (2005a). Towards a Metadata Model for E-Markets, Proc. of the12th Research Symposium on Emerging Electronic Markets (RSEEM 2005), Amsterdam, Netherlands,2-3 September 2005. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
________. (2005b). Designing an Internet-based directory service for e- markets’, InformationServices & Use.25 (2): 95-107. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
________. (2006). A Metadata Model for E-Markets. International Journal of Metadata, Semantics &Ontologies.1(2). |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
________. (2006). Quality in metadata: a schema for e-commerce . Online Information Review. 30(3):217-237. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Manouselis, N., Costopoulou, C., Patrikakis, C.Z., & Sideridis A.B. (2005). Using metadatac to bring consumers closer to agricultural e-markets. Proc. of the 2005 EFITA/WCCA Joint. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Manouselis, N. , Costopoulou, C., & Sideridis, A. (2007). Metadata for Web Portals: Developing an e-Markets’ Directory, accepted for publication in A. Tatnall (Ed.), The Encyclopedia of Portal Technology and Applications, Hershey, PA: Idea Group Publishing, |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Manouselis, N., Palavitsinis, N., Costopoulou, C., & Sideridis, A.(2006). Agricultural Electronic Markets in Greece: CurrentStatus and Future Directions, accepted for publication in Iliadis L., Batzios |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
X., Manthou B., Salampasis M.,Arabatzis G. (Eds.), Special Edition of the Hellenic Association of Information and CommunicationTechnologies in Agriculture (HAICTA). |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
Mcguinness, Deborah L. (2001). Ontologies and Electronic Commerce. Article in Intelligent Systems, IEEE ·February [doiO: 10.1109/MIS.2001.1183337 · Source: DBLP From: AAAI Technical Report WS-99-01] |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Peter, I. (2009). Folksonomies : Indexing and retrieval in web 2.0. Germany : De Gruyter. | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Prieto-Diaz, R. (2002). A Faceted Approach to Building Ontologies. Retrieved January 25, 2018, from www.cs.uu.nl/docs/vakken/ks/BulidOntologiesRPD-ER2002.pdf |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Sacco, Owen, Liapis, Antonios, & Yannakakis,Georgios N. (2017). Game Character Ontology (GCO): A Vocabulary for Extracting and Describing Game Character Information from Web Content . In Proceedings of Semantics2017, Amsterdam, Netherlands, September 11–14, 2017, 8 pages.DOI: 10.1145/3132218.3132233 |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Satijaa, M. P., & Martinez-Avila, Daniel. (2014). Use of classification in organizing and searching the web. Annals of Library and Information Studies. 61: 294-306. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Sharif, A. (2009). Combining Ontology and Folksonomy: An Integrated Approach to Knowledge Representation. In Emerging trends in technology: Libraries between Web 2.0, Semantic web and Search Technology, Italy, August 19-20.--. (Published) [Conference Paper]. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 ประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข.
1.2 มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน
1.3 ยึดมั่นในหลักจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
1.4 มีความเป็นผู้นำ และพร้อมสำหรับการทำงานในนิเวศดิจิทัล
2. คุณธรรม จริยธรรม
2.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลดิจิทัล และการจัดการเนื้อหาสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล
2.2 มีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีทางด้านสารสนเทศศาสตร์ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในกiระบวนการวิจัย และพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่
2.4 ประยุกต์ทฤษฎีทางสารสนเทศศาสตร์ ร่วมกับการวิจัยเพื่อการสร้างสรรค์ หรือแก้ปัญหาทางสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล
3. ปัญญา
3.1 สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ และนำเสนอข้อมูล สารสนเทศและความรู้ดิจิทัล โดยใช้เทคนิคต่างๆ ได้
3.2 มีทักษะการวิจัยเพื่อสร้างสรรค์หรือแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางสารสนเทศเป็นฐานได้
3.3 ทักษะการคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) และการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative thinking) เพื่อสามารถบูรณาการความรู้และเทคโนโลยี และประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experiences) ในการออกแบบและพัฒนาบริการสารสนเทศดิจิทัลได้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.2 มีภาวะผู้นำ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง
4.3 มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพ
4.4 มีทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล เพื่อวิเคราะห์ความต้องการและประสบการณ์ผู้ใช้เพื่อการออกแบบและพัฒนาบริการสารสนเทศดิจิทัลได้
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รวมทั้งเครื่องมืออื่นๆ เพื่อการจัดการสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล
5.2 สามารถสื่อสารสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้หลายรูปแบบ
5.3 สามารถทำการวิจัยหรือโครงการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และนำเสนอหรือการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะ
5.4 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศเชิงตัวเลขโดยใช้เทคนิคต่างๆ เพื่อการวางแผน หรือการตัดสินใจเรื่องต่างๆ ได้