รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
สารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
Unit 1: Data Analytics: Basic 1.1 Benefits and uses of data science and big data 1.2 Facets of data 1.3 The data science process 1.4 The big data ecosystem and data science 1.5 R programming basic 1.6 Python programming basic |
30 |
|
1. ทดสอบก่อนเรียนและแนะนำวิธีการเรียนการสอนของชุดวิชา 2. สื่อประกอบการเรียนการสอน - วิดีโอสั้น 2 คลิป (ความยาว 10-15 นาที) - เอกสารประกอบการเรียน 6 หัวข้อ - แหล่งเรียนรู้ภายนอก 3. กิจกรรมการเรียนรู้ - ฝึกปฏิบัติการ - มอบหมายงาน - ทบทวนเนื้อหาและทดสอบย่อย 4. ประเมินหลังการเรียนรู้ |
|
2 |
Unit 2: Statistic for data analytics: Methodology 2.1 ความสำคัญของสถิติ 2.2 ข้อมูลและระดับการวัด 2.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.4 การสุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาดตัวอย่าง 2.5 การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 2.6 การทดสอบสมมติฐาน (One Sample, Two Sample) 2.7 การทดสอบแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ 2.8 การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One Way, Two Way) 2.9 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงจำแนก 2.10 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และสมการถดถอยเชิงเส้น 2.11 นำเสนอกรณีศึกษากลุ่มย่อย |
30 |
|
1. ทดสอบก่อนเรียนและแนะนำวิธีการเรียนการสอนของชุดวิชา 2. สื่อประกอบการเรียนการสอน - วิดีโอสั้น 2 คลิป (ความยาว 10-15 นาที) - เอกสารประกอบการเรียน 10 หัวข้อ - แหล่งเรียนรู้ภายนอก 3. กิจกรรมการเรียนรู้ - ฝึกปฏิบัติการ - มอบหมายงาน - ทบทวนเนื้อหาและทดสอบย่อย 4. ประเมินหลังการเรียนรู้ |
|
3 |
Unit 3: Data analytics and visualization: 3.1 Linear Algebra 3.2 Numerical Computation (Python NumPy) 3.3 Machine Learning Mini Project 3.4 A Case Study of Customer 3.4.1 Segmentation 3.4.2 Clustering Algorithm (Python Scikit-learn) 3.4.3 Group Experiment 3.4.4 Design, Coding and Discussion 3.4.5 Summarize Experiment 3.4.6 Submit Reports 3.5 Tabulation and Plotting (Python Pandas) 3.6 Deep Learning 3.7 Final Project 3.7.1 Define a research topic 3.7.2 Observe and collect data 3.7.3 Design, Coding and Discussion 3.7.4 Analyze and Discussion Experiment 3.7.5 Submit Google Colaboratory (Python) and Report 3.7.6 Presentation (15 minutes) |
30 |
|
1. ทดสอบก่อนเรียนและแนะนำวิธีการเรียนการสอนของชุดวิชา 2. สื่อประกอบการเรียนการสอน - วิดีโอสั้น 2 คลิป (ความยาว 10-15 นาที) - เอกสารประกอบการเรียน 5 หัวข้อ - แหล่งเรียนรู้ภายนอก 3. กิจกรรมการเรียนรู้ - ฝึกปฏิบัติการ - มอบหมายงาน - ทบทวนเนื้อหาและทดสอบย่อย - โปรเจคขนาดเล็ก - โปรเจคประจำชุดวิชา 4. ประเมินหลังการเรียนรู้ |
|
4 |
Unit 4: Data analytics: Project development 4.1 เค้าโครงการวิจัยทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูล 4.2 การดำเนินการวิจัยทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูล 4.3 รายงานโครงการวิจัยทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูล |
30 |
|
1. แนะนำวิธีการเรียนการสอนของหัวข้อ 2. สื่อประกอบการเรียนการสอน - กรณีศึกษา - ตัวอย่างจากสถานประกอบการฯ 3. กิจกรรมการเรียนรู้ - การให้คำปรึกษาเฉพาะรายบุคคล - ศึกษาโจทย์ปัญหาจริงจากสถานประกอบการฯ 4. การประเมิน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 120 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
Unit 1: Data Analytics: Basic |
|
25 |
-ได้ใบประกาศนียบัตรประจำหน่วยการเรียนรู้ -ได้หน่วยกิตสะสมสำหรับผู้เรียนแบบไม่รับปริญญา -ผ่านงานที่ได้รับมอบหมาย -ผ่านการทดสอบหลังการเรียนรู้ |
Unit 2: Statistic for data analytics: Methodology |
|
25 |
-ผ่านการทดสอบแบบปฏิบัติการ -ได้ใบประกาศนียบัตรประจำหน่วยการเรียนรู้ -ได้หน่วยกิตสะสมสำหรับผู้เรียนแบบไม่รับปริญญา -ผ่านงานที่ได้รับมอบหมาย -ผ่านการทดสอบหลังการเรียนรู้ |
Unit 3: Data analytics and visualization: Tools and techniques |
|
25 |
-ผ่านการทดสอบแบบปฏิบัติการ -ได้ใบประกาศนียบัตรประจำหน่วยการเรียนรู้ -ได้หน่วยกิตสะสมสำหรับผู้เรียนแบบไม่รับปริญญา -ผ่านงานที่ได้รับมอบหมาย -ผ่านการทดสอบหลังการเรียนรู้ |
Unit 4: Data analytics: Project development |
|
25 | -รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (โจทย์วิจัยจากสถานประกอบการ ออกแบบการวิจัย วิเคราะห์และประมวลผล สรุปผลและอภิปรายผล นำเสนอ โดยพิจารณาจากคุณภาพรายงานการวิจัย) |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
เอกสารประกอบการสอน | วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2564). เอกสารประกอบการสอนเรื่อง การวิเคราะห์สารสนเทศดิจิทัล. ขอนแก่น: สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Cielen, D., Meysman, A. D., & Ali, M. (2016). Introducing data science: big data, machine learning, and more, using Python tools. Manning Publications Co.,. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Douglas A. Lind. (2012). Statistical Techniques in Business & Economics. Coastal Carolina University and the University of Toledo. McGraw-Hill/Irwin | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Gujarati, D.N. (2006). Essentials of Econometrics. 3rd Edition, McGraw-Hill. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Mailund, T. (2017). Beginning Data Science in R. Apress. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Rencher, A.C. (2003). Methods of Multivariate Analysis. 2nd Edition, John Wiley & Sons. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Sarkar, D. (2016). Text Analytics with Python. Apress. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | กัลยา วานิชย์บัญชา. (2559). การวิเคราะห์สถิติ สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2558). สถิติพื้นฐาน. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2544). การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS for Windows. ขอนแก่น : โครงการผลิตตำรา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 ประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข.
1.2 มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน
1.3 ยึดมั่นในหลักจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
1.4 มีความเป็นผู้นำ และพร้อมสำหรับการทำงานในนิเวศดิจิทัล
2. คุณธรรม จริยธรรม
2.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลดิจิทัล และการจัดการเนื้อหาสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล
2.2 มีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีทางด้านสารสนเทศศาสตร์ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในกiระบวนการวิจัย และพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่
2.4 ประยุกต์ทฤษฎีทางสารสนเทศศาสตร์ ร่วมกับการวิจัยเพื่อการสร้างสรรค์ หรือแก้ปัญหาทางสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล
3. ปัญญา
3.1 สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ และนำเสนอข้อมูล สารสนเทศและความรู้ดิจิทัล โดยใช้เทคนิคต่างๆ ได้
3.2 มีทักษะการวิจัยเพื่อสร้างสรรค์หรือแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางสารสนเทศเป็นฐานได้
3.3 ทักษะการคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) และการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative thinking) เพื่อสามารถบูรณาการความรู้และเทคโนโลยี และประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experiences) ในการออกแบบและพัฒนาบริการสารสนเทศดิจิทัลได้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.2 มีภาวะผู้นำ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง
4.3 มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพ
4.4 มีทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล เพื่อวิเคราะห์ความต้องการและประสบการณ์ผู้ใช้เพื่อการออกแบบและพัฒนาบริการสารสนเทศดิจิทัลได้
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รวมทั้งเครื่องมืออื่นๆ เพื่อการจัดการสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล
5.2 สามารถสื่อสารสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้หลายรูปแบบ
5.3 สามารถทำการวิจัยหรือโครงการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และนำเสนอหรือการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะ
5.4 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศเชิงตัวเลขโดยใช้เทคนิคต่างๆ เพื่อการวางแผน หรือการตัดสินใจเรื่องต่างๆ ได้