รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
แนะนำรายวิชาและข้อตกลงเบื้องต้น (Intricduction to teaching of reading and Writing in English language บทที่ 1 วิธีการสอนการอ่าน เป็นภาษาอังกฤษ • การเรียนรู้การอ่านในภาษาแม่ • การเรียนรู้การอ่านในภาษาอื่น • หลักการสอนการอ่าน |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านพบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียน และการ ส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์ การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน นักศึกษาได้รับมอบหมายให้รับชมคลิปหัวข้อ “ What is Pedagogy?” ที่ https://youtu.be/QcpwEoW1uY8 (2) นักศึกษาทำการศึกษาทฤษฎีเรียนรู้การอ่านในภาษาอื่น และการเรียนรู้การอ่านในภาษาแม่ จากคลิปวิดีโอ ของ Professor Jack C. Richards is interviewed by Professor Hayo Reinders about his new book, "Approaches and Methods in Language Teaching" Third Edition.ที่ https://youtu.be/CMdseB-EB8Y (3) อาจารย์พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่อบรรยายหัวข้อ หลักการสอนการอ่าน นักศึกษาจดบันทึก ร่วมซักถาม และอภิปรายแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการเรียน ทักษะการอ่าน ที่ตนเคยผ่านมา (4) นักศึกษาศึกษาหลักการสอนการอ่านTeaching reading in an EFL/ESL classroom โดยชมคลิวิดีโอที่ https://youtu.be/PuyocXXXAEA และทำแบบฝึกหัดจากใบงานที่อาจารย์ให้ดาวโหลดก (5) นักศึกษาศึกษาการใช้การเรียนรู้การอ่านในภาษาแม่และการเรียนรู้การอ่านในภาษาอื่น จากนั้น อภิปรายเกี่ยวกับความเหมือน และความแตกต่างของการอ่านภาษาอังกฤษ กับภาษาแม่ (6) นักศึกษาสรุปประเด็นที่ได้จากการอภิปราย บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Google Classroom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet KKU e-Learning |
|
3 |
บทที่ 2 การออกแบบหลักสูตรด้านการอ่าน |
3 |
|
(1) นักศึกษาทำการศึกษาการบรรยายด้านการออกแบบหลักสูตรการอ่านเป็นภาษาอังกฤษที่ https://youtu.be/N3s0CPRSyMg (2) อาจารย์พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับการ หลักสูตรการสอนอ่านภาษาอังกฤษในประเทศไทย รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน ของหลักสูตรต่าง ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร ทั้งจากที่ชมจากคลิปวิดีโอ และจากการรับฟังการบรรยาย (3) นักศึกษา ทำการศึกษาการประเมินคุณภาพหลักสูตรด้านการอ่านภาษาอังกฤษ โดยชมวิดีคลิปหัวข้อ. “Overview of Language Curriculum Design” ที่ https://youtu.be/GJOEkEAp1xs หรือ หัวข้อ “'Designing a Course: Developing Learning Outcomes” ที https://youtu.be/aGuZTE8-lOQ บรรยาย นักศึกษานำเสนอผลงาน และร่วมกันอภิปราย ถามคำถาม และตอบข้อซักถาม ก่อนจะสรุป ประเด็นต่าง ๆ และรูปแบบการบริหารจัดการ รวมถึงการสังเคราะห์รูปแบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพจากการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม อาจารย์ทำหน้าที่เสริม และชี้แนะ Google Classroom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet KKU e-Learning |
|
4-5 |
บทที่ 3 การวางแผนบทเรียน การออกแบบ และการสร้างสื่อการสอน ทักษะการอ่านการ งาน (Tasks) ในการอ่าน |
6 |
|
(1) อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษาทำการศึกษาล่วงหน้าจากการชมคลิป ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom Taxonomy ของ Benjamin Bloomที่ https://youtu.be/ayefSTAnCR8 ก่อนเข้าเรียน นักศึกษาต้องทำใบงานที่อาจารย์ให้ดาวน์ โหลด และเตรียมพร้อมในการพบกันใน ZOOM (2) อาจารย์พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM อาจารย์บรรยายหัวข้อ How to teach a reading skills lesson TESOL และเปิดวิดีโอคลิป https://youtu.be/iu-yLD8qQM0 ประกอบการบรรยายขั้นตอนในการออกแบบบทเรียน (3) นักศึกษาทำความเข้าใจการออกแบบบทเรียนการอ่านแบบ Intensive Reading Lesson และการออกแบบบทเรียนการอ่านแบบ Extensive Reading Lesson (4) อาจารย์บรรยายผ่าน โปรแกรม ZOOM การออกแบบภาระงาน (Tasks) โดยใช้วิดีโอคลิป การสอนการอ่านในห้องเรียน EFL/ESLที่ https://youtu.be/W1F1VG5AIRw (5) นักศึกษาทำงานกลุ่ม โดยการออกแบบภาระงานของหัวข้อการอ่านในห้องเรียน EFL (6) นักศึกษานำเสนอผลงานการออกแบบบทเรียนเป็นกลุ่ม โดยทำเป็นคลิปวิดีโอ ที่อนุญาตให้นักศึกษาอื่น ๆ ได้เข้าชม พร้อมกับการทำแบบฝึกหัดในใบงาน แสดงความคิดเห็นต่อการออกแบบภาระงานเพื่อสอนทักษะการอ่านของแต่ละกลุ่ม (7) อาจารย์ร่วมให้ผลสะท้อนต่องานออกแบบภาระงานและขอให้นักศึกษาบันทึกสรุปประเด็นแนวทางการปรับปรุงภาระงานและส่งบันทึกสรุปดังกล่าวเพื่อเป็นการวัดความรู้ ความเข้าใจ และการวางแผนเพื่อปรับปรุงงานของแต่ละกลุ่ม หนังสือ หรือ ตำรา Google Classroom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet KKU e-Learning |
|
6-8 |
บทที่ 4 การประเมินและการวัดผลทักษะการอ่าน |
9 |
|
(1) อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษาทำการศึกษาล่วงหน้าจากการชมคลิป https://youtu.be/8tR2XOWSBJE หัวข้อ การสาธิตการสอนทักษะการอ่าน summarising and paraphrasing; raise their awareness of cultural differences and language barriers in the context of a story “Talking in the New Land”. ก่อนเข้าเรียน นักศึกษาต้องทำใบงานที่อาจารย์ให้ดาวน์ โหลด และเตรียมพร้อมในการพบกันใน ZOOM (2) นักศึกษาทำงานคู่ โดยเลือกพัฒนาหัวข้อที่เคยสร้างภาระงาน มาทำเป็นการสอนแบบ Micro teaching 1 หัวข้อ ตามรูปแบบคลิปสาธิต นักศึกษาเตรียมการสาธิต โดยอาจารย์ให้คำแนะนำ ทั้งนี้ นักศึกษาต้องเน้นพัฒนาเพิ่มเติม ในส่วน การวัดความสำเร็จของทักษะการอ่าน การวินิจฉัยปัญหาการอ่าน การวัดความสามารถในการอ่าน และแบบทดสอบความเข้าใจในการอ่าน (3) นักศึกษาสาธิตการสอนทักษะการอ่าน ทาง ZOOM โดยมีเพื่อนร่วมชั้นเป็นผู้ชม และทำการประเมินการสาธิตการสอน โดยใช้แบบประเมินที่อาจารย์ให้ดาวน์โหลด (4) นักศึกษา และอาจารย์ ร่วมกันสรุปประเด็นที่ได้จากการดูการสาธิต และร่วมซักถาม และอภิปราย (5) 4. Oshima, A., &; Hogue, A. (2016). Longman Academic Writing Series Level 3: Paragraphs to Essays. 3rd edn. Longman: New York. 5. Oshima, A., &; Hogue, A. (2016). Longman Academic Writing Series Level 4: Essays. 3rd edn. Longman: New York. Oshima, A., &; Hogue, A. (2016). Longman Academic Writing Series Level 5: Essays to Research Papers. 3rd edn. Longman: New York. Khampusaen, D. (2021). Academic English Writing, Khon Kaen University, Google Classroom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet KKU e-Learning |
|
9 | สอบกลางภาค | 3 |
|
ทำแบบทดสอบ | |
10-11 |
บทที่ 5 ทฤษฎีการสอนการเขียนเป็นภาษาอังกฤษ |
6 |
|
(1) นักศึกษาทำการศึกษาหัวข้อ ทฤษฎีการสอนและหลักการสอนทักษะการเขียน โดยการเข้าชมคลิปวิดีโอหัวข้อ Teaching Tips: A combination of theory and practice. ที่ https://youtu.be/EoD_-29EVhA บรรยายโดย Penny Ur โดยนักศึกษาต้องเตรียมอภิปรายหัวข้อดังกล่าวในชั้นเรียนถัดไ (2) อาจารย์พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM และขอให้ผู้เรียนเล่าถึงประสบการณ์การเรียนทักษะการเชียนในชั้นเรียน ผลของรูปแบบการสอนต่แความสามารถของนักศึกษา ประสิทธิภาพ ข้อดี และข้อจำกัด ของรูปแบบการสอนที่เคยผ่านมา (3) อาจารย์บรรยายหัวข้อหลักการสอนทักษะการเขียน เป็นภาษาอังกฤษเป็นภาษาอังกฤษ การออกแบบงานภารกิจ (4) นักศึกษาศึกษาสาเหตุที่นักศึกษาไทยไม่ประสบความสำเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษ จากคลิป https://youtu.be/IEOxjnVwv6U จากนั้นอภิปรายถึงปัญหาการเรีนนทักษะการเขียนในสถานศึกษาไทย และ๐๓๑+นักศึกษาบันทึก (5) นักศึกษาเขียนเรียงความ ในหัวข้อ ‘My Memorable Writing Class Experience’ และส่ง อาจารย์ให้คะแนนการเขียน และวิเคราะห์ สังเคราะห์ ด้านเนื้อหาที่นักศึกษาเขียน เพื่อใช้ในการออกแบบการสอน ที่ตรงกับความต้องการผู้เรียนต่อไป ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ หนังสือ หรือ ตำรา Google Classroom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet KKU e-Learningา |
|
12-13 | บทที่ 6 การวางแผนบทเรียน การออกแบบ และการสร้างสื่อการสอน ทักษะการเขียนการ งาน (Tasks) ในการเขียน | 6 |
|
(1) นักศึกษาทำการศึกษา หัวข้อ ประเภทของการเขียนในภาษาอังกฤษ จากคลิปวิดีโอ “The Four Modes of Writing” จาก https://youtu.be/4HUpjoofneg และทำบันทึกย่อเพื่อเตรียมเข้าร่วมเรียน และอภิปรายในห้องเรียน (2) อาจารย์พบนักศึกษาผ่าน โปรแกรม ZOOM และบรรยายหัวข้อ ชนิดของการเขียน แบบต่าง ๆ การเขียนตามต้นแบบ การรวบรวมความคิด และการจัดระเบียบความคิดในการเขียน (3) นักศึกษาฝึกเขียนงานตามข้อ (2) และแลกเปลี่ยนงานกัน เพื่อประโยชน์ในการรู้จัก errors ชนิดต่าง ๆ (4) นักศึกษา และอาจารย์ร่วมอภิปรายในหัวข้อ errors ในงานเขียน การวางแผนบทเรียน การออกแบบและการสร้างสื่อการสอน ทักษะการเขียนการ งาน (Tasks) ในการเขียน โดยผู้เรียนต้องใช้วิดีโอคลิปนี้ https://youtu.be/0iP7LHH3LqE เป็นแหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติม เมื่อจบการเรียน นักศึกษาจับคู่กันทำงานเพื่อเตรียมแผนการสอน เนื้อหาการสอน สื่อการสอน กิจกรรมการสอน ทักษะการเขียน (5) นักศึกษาส่งแผนการสอน อาจารย์ประเมินแผนการสอนพร้อมทั้งข้อแนะนำในการปรับปรุง นักศึกษารับงานไปแก้ไข และส่งอีกครั้ง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา Google Classroom e-Learning หนังสือ หรือ ตำรา YouTube Google Classroom |
|
14-15 | บทที่ 6 การออกแบบหลักสูตรด้านการเขียนเป็นภาษาอังกฤษ และการวัดและประเมินผลทักษะการเขียน | 6 |
|
(1) นักศึกษาทำการศึกษา คลิปวิดีโอ หัวข้อ การให้ข้อมูลย้อนกลับในการประเมินงานเขียน ที่ https://youtu.be/EoD_-29EVhA และ วิดีโอหัวข้อ “Language Assessment: Principles and Classroom Practices” อ้างอิงจาก Brown, H. D. (2004). Language Assessment: Principles and Classroom Practices. New York: Pearson Education. ก่อนเข้าเรียน ทั้งนี้ นักศึกษาต้องดาวโหลด ใบงาน เพื่อใช้หาคำตอบจากการชมวิดีโอ นักศึกษาส่งใบงานก่อนเรียน (2) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม ZOOM เพื่อบรรยายหัวข้อ • การสร้างกลไกในการพัฒนาคุณภาพงานเขียน • การออกแบบการประเมินผล • การสร้างแบบประเมินผลทักษะการเขียน • การใช้แบบประเมินผลทักษะการเขียนและการแปรผล และ • การให้ข้อมูลย้อนกลับงานเขียน (3) นักศึกษาออกแบบ rubric ที่เหมาะสมในการวัดผลการเขียนเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ และนำเสนอในลักษณะห้องเล็กกับเพื่อนร่วมชั้นอีก 1 กลุ่ม โดยการสุ่มห้อง breakout room ของโปรแกรม ZOOM (4) นักศึกษาสรุปความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการประเมิน การให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรุงคุณภาพงานเขียนและการลักษณะแบบวัดผลการเขียนที่มีประสิทธิภาพ โดยส่งงานเก้ไขเป็นรายงาน YouTube ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
10 | |
งานเดี่ยว |
|
15 | |
งานกลุ่ม |
|
15 | |
สอบกลางภาค |
|
30 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Oshima, A., &; Hogue, A. (2016). Longman Academic Writing Series Level 2: Paragraphs. 3rd edn. Longman: New York. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube |
YouTube: แนะนำทฤษฎีการสอนทักษะการอ่านและการเขียน 1. Two Reading Theories https://youtu.be/mUla3-YXNmM 2. Reading theories https://youtu.be/5DCjjXlNuM0 3. Theories of reading comprehension: The Construction-Integration Model https://youtu.be/HQBjBIEXmM8 4. Writing Theories https://youtu.be/EpptLpykkGg 5. ESL - Paragraph writing - The Burger Method https://youtu.be/liPJvPGC0eI YouTube: แนะนำวิธีสอนทักษะการอ่านและการเขียน 1. การสอนอ่านและเขียนภาษาอังกฤษ https://www.youtube.com/results?search_query=ESL+Writing+and+Reading 2. Best Practice for Teaching Reading to Young Learners https://youtu.be/W1F1VG5AIRw 3. วิธีสอนทักษะการอ่าน https://www.youtube.com/results?search_query=ESL+Writing+and+Reading 4. Teaching reading in an EFL/ESL classroomhttps://youtu.be/PuyocXXXAEA 5. How to Teach Writing: The Writing Process https://youtu.be/JPUh9mfSqWU YouTube: แนะนำสื่อการสอนทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ 1. 50 reading activities for English class https://youtu.be/CEFv0Fs_8k8 2. Reading Strategies and Activities for ESL/ELL Classrooms https://youtu.be/FbBbmPOdJXg 3. Vocabulary Practice for ESL/ELL Classrooms https://youtu.be/zBOEk9sJ5dI |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
1. KKU e-Learning สำหรับวิชา HS 113 605 English Reading and Writing Pedagogy 2. The Writers Bureau org. ที่ https://www.writersbureau.com/index.php 3. ESL writing, Teaching Resources | eslwriting.org. ที่ www.eslwriting.org › teaching-english-writing-esl-resources 4. OWL // Purdue Writing Lab ที่ owl.purdue.edu 5. ESL Reading & Writing https://custom-writing.org/blog/english-as-a-second-language-learning-materials 6. British Council ที่ British Council |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(1) มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
(2) มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(3) มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
(4) มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ความรู้
(1) มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
(2) มีทักษะและประสบการณ์การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
(3) มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
(4) มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
(5) มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นและภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
3. ทักษะทางปัญญา
(1) สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
(2) สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่างๆ โดยประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
(3) สามารถริเริ่มสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(2) ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
(3) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
(4) มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
(2) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
(3) มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ