Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423304
ภาษาไทย
Thai name
องค์การระหว่างประเทศกับการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ
English name
INTERNATIONAL ORGANIZATION AND DEVELOPMENT
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2556)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
  • มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมถึงสามารถศึกษาค้นคว้า ทำงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ แก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
จริยธรรม
Ethics
    ทักษะ
    Skills
    • สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • สามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาการพัฒนาระหว่างประเทศ ที่เป็นผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างประเทศ บทบาทของ องค์กรระหว่างประเทศ และความร่วมมือระดับภูมิภาคในการพัฒนา บรรษัทข้ามชาติในระบบทุนนิยมโลก องค์กรพัฒนาเอกชนขบวนการทางสังคมและเครือข่ายภาคประชาชนในการพัฒนาระหว่างประเทศ การวิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้งและแนวทางแก้ไขใน
    การพัฒนาระหว่างประเทศ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Concept and theories of international cooperation, roles of international organization and regional cooperation organization in development, multinational corporations in world capitalist system, nongovernmental organizations, social movement and people networks in international development, analysis of conflicts and solutions in international development.
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Project-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - แนะนำรายวิชา
    กิจกรรมการเรียน การสอนการประเมินผล การนำเข้าสู่การเรียน
    3
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - มอบเอกสารแผนการสอน Power Point กรณีศึกษาสื่อวิดิทัศน์โดยอัพโหลดในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    - แลกเปลี่ยนความคิด และความคาดหมายของผู้เรียนจากการเรียนวิชานี้ผ่านโปรแกรม Google meet
    - ผู้สอนบรรยายนำ แบ่งกลุ่มนักศึกษาเพื่อทำรายงานกลุ่มตลอดภาคการศึกษา
    - ตั้งคำถามนำเข้าสู่บทเรียนให้นักศึกษาอภิปราย ซักถาม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และตอบคำถามท้ายบทเรียนผ่าน แอพพลิเคชั่น Quizlet
    2-3 - ปัญหาการพัฒนาระหว่างประเทศในยุคโลกาภิวัตน์
    - ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    - ความร่วมมือระหว่างประเทศ
    - องค์การระหว่างประเทศและการพัฒนา
    6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - มอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นและอ่านเอกสารประกอบการสอนเรื่อง “การพัฒนาระหว่างประเทศในยุคโลกาภิวัตน์”มาล่วงหน้า
    - บรรยายประกอบการทำกิจกรรมในชั้นเรียนผ่านระบบ Microsoft Team
    - อาจารย์ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - มอบหมายให้นักศึกษาสังเคราะห์องค์ความรู้ได้จากการฟังบรรยาย เขียนสรุปประเด็นสำคัญ ในระบบ E-Learning ของรายวิชา


    4-5 - ความหมายขององค์การระหว่างประเทศ
    - ระดับขององค์การระหว่างประเทศ
    - ลักษณะขององค์การระหว่างประเทศ
    - จุดมุ่งหมายขององค์การระหว่างประเทศ
    - ปัญหาขององค์การระหว่างประเทศ

    6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • S2: ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - มอบเอกสารประกอบการสอน Power Point สื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษา และ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในชั้นเรียนในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    - บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีร่วมกับการทำกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียนผ่านระบบ Microsoft Team
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - ตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติมรายงานกลุ่มชิ้นที่ 1
    - นัดหมายนักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้า
    6-7 ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    -ทฤษฎีระบบโลก
    -ทฤษฎีการพึ่งพิงระหว่างประเทศ
    6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • S2: ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - มอบเอกสารประกอบการสอน Power Point สื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษา และ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในชั้นเรียนในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    - บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีร่วมกับการทำกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียนผ่านระบบ Microsoft Team
    - การทำกิจกรรมกลุ่ม
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    8-9 กรณีศึกษาองค์การระหว่างประเทศ(ระดับสากลและระดับภูมิภาค)ในการพัฒนา
    เช่น UN, WHO, FAO, ILO, WTO, EU , ASEAN, APEC

    6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • S2: ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - มอบเอกสารประกอบการสอน Power Point สื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษา และ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในชั้นเรียนในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    - บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีร่วมกับการทำกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียนผ่านระบบ Microsoft Team
    - นำเสนอผลจากการการทำรายงานกลุ่มกรณีศึกษาองค์การระหว่างประเทศตามที่ได้รับมอบหมาย
    (ชิ้นที่ 2)
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    10-11 ความหมายและบทบาทของบรรษัทข้ามชาติในระบบทุนนิยมโลก 6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • S2: ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - มอบเอกสารประกอบการสอน Power Point สื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษา และ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในชั้นเรียนในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    - บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีร่วมกับการทำกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียนผ่านระบบ Microsoft Team
    - การทำกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานกลุ่มชิ้นที่ 3
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    12 ความหมายและบทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนในการพัฒนาระหว่างประเทศ 3
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • S2: ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - มอบเอกสารประกอบการสอน Power Point สื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษา กรณีศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์หรือ อีเลกทรอนิกส์และ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในชั้นเรียนในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    - บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีร่วมกับการทำกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียนผ่านระบบ Microsoft Team
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - มอบหมายให้นักศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้จากกรณีศึกษาและเขียนสรุปประเด็นสำคัญในกระดานถามตอบในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    13 ความหมายของการเคลื่อนไหวทางสังคม และเครือข่ายภาคประชาชนในการพัฒนาระหว่างประเทศ 3
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - มอบเอกสารประกอบการสอน Power Point สื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษา และ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในชั้นเรียนในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    - บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารผ่านระบบ Microsoft Team
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - มอบหมายให้นักศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้จากกรณีศึกษาและเขียนสรุปประเด็นสำคัญในกระดานถามตอบในระบบ E-Learning ของรายวิชา
    14-15 - การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา
    - สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลการสอน
    6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมถึงสามารถศึกษาค้นคว้า ทำงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ แก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • S2: ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • S3: สามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาการพัฒนาระหว่างประเทศ ที่เป็นผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้าการทำรายงานกลุ่มกรณีศึกษาองค์การระหว่างประเทศตามที่ได้รับมอบหมาย (ชิ้นที่ 3)
    - อภิปราย แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการเรียนการสอน
    - ประเมินผลการเรียนรู้ในระดับรายวิชาร่วมกัน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการค้นคว้าด้วยตนเอง
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมถึงสามารถศึกษาค้นคว้า ทำงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ แก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • S2: ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • S3: สามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาการพัฒนาระหว่างประเทศ ที่เป็นผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • A1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    60 นักศึกษาส่งบันทึกการค้นคว้าด้วยตนเอง ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
    การเขียนรายงานและนำเสนอรายงานกลุ่มผลการศึกษาองค์กรระหว่างประเทศกับการพัฒนา 3 ชิ้น
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ ในการพัฒนาด้านต่างๆ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมถึงสามารถศึกษาค้นคว้า ทำงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ แก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: สามารถทำความเข้าใจความหมาย บทบาทหน้าที่ ความร่วมมือในการแก้ปัญหาขององค์กรระหว่างประเทศ
    • S2: ความสามารถในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดสังคมวิทยาที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • S3: สามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาการพัฒนาระหว่างประเทศ ที่เป็นผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • A1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    40 นักศึกษาร่วมกันนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าของกลุ่มในสัปดาห์ที่กำหนดในแผนการสอนสัปดาห์ที่ 5 8 9 14 และ 15
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ขจิต จิตตเสวี. (2557). องค์การระหว่างประเทศ. INTERNATIONAL ORGANIZAT IONS). กรุงเทพฯ : วิญญูชน.
    หนังสือ หรือ ตำรา ธนาสฤษฎิ์ สตะเวทินและ กฤษณา ไวสำรวจ.(2548). องค์การระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
    รามคำแหง.
    หนังสือ หรือ ตำรา Allen, Tim and Alan Thomas. (2000). Poverty and Development into the 21st Century. New York: Oxford
    University Press.
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล McMichael, Philip.(2004). Development and Social Change: a global perspective. London: Pine Forge
    Press.
    หนังสือ หรือ ตำรา Shannon, Thomas Richard.(1989). An Introduction to the World – System Perspective. London:
    West view Press.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.un.org/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.un.or.th/services/thailand-info-2/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.unric.org/en/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.un.org/Docs/journal/En/lateste.pdf
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.un.org/en/universal-declaration-human-rights/index.html
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://www.usip.org/publications/2016/11/task-force-united-nations
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://www.amnesty.or.th/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://tica.thaigov.net/
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ