Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS434905
ภาษาไทย
Thai name
การกลายเป็นเมืองและการพัฒนาชุมชนเมือง
ภาษาอังกฤษ
English name
URBANIZATION AND URBAN COMMUNITY DEVELOPMENT
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-1-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงโครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมืองได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมาย ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมืองได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการกลายเป็นเมืองในสังคมโลกได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงรูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไขได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีความซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย ขอบเขต แนวคิดและวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมือง แนวคิดเกี่ยวกับเมืองศึกษา องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบ วิธีการ ปัญหา การแก้ไขปัญหาในการพัฒนาเมืองและการกลายเป็นเมือง การพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนเมือง
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, scope, concept and objectives of urban community development, concepts for urban studies, urbanization, body of knowledge on urban community development, patterns, methods, and problems in urban development and solutions sustainable development of urban communities
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Task-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - แนะนำขอบข่ายรายวิชาและการเรียนการสอน
    หน่วยที่ 1 โครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมือง
    1.1 ความหมายของเมืองและชุมชนเมือง
    1.2 พัฒนาการของการเป็นเมือง
    1.3 โครงสร้างของชุมชนเมือง
    1.4 ลักษณะของชุมชนเมือง
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงโครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมืองได้
    กิจกรรมการเรียน
    การสอน
    - ชี้แจงรายละเอียดขอบข่ายเนื้อหาวิชา และกระบวนการเรียนการสอน
    - ดำเนินการโดยบูรณาการวิธีการตามที่ระบุในหมวดที่ 4
    - นำเข้าสู่บทเรียน
    - สอนโดยวิธีบรรยาย
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างและลักษณะของชุมชนไทย
    - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 1

    สื่อการสอน
    (1) เอกสารขอบข่ายรายวิชาและกำหนดการเรียนการสอน
    (2) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
    (3) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 1
    (4) วิดิทัศน์ความเป็นชุมชนเมือง
    (5) ใบงานที่ 1 ความเรียง เรื่อง เมืองในความหมายของฉัน
    2 หน่วยที่ 2 การพัฒนาชุมชนเมือง
    2.1 ความหมายของการพัฒนาชุมชนเมือง
    2.2 ความสำคัญของการพัฒนาชุมชนเมือง
    2.3 ขอบเขตของการพัฒนาชุมชนเมือง
    2.4 วัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมือง
    3
    • K2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมาย ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    กิจกรรมการเรียน
    การสอน
    - ดำเนินการโดยบูรณาการวิธีการตามที่ระบุในหมวดที่ 4
    - นำเข้าสู่บทเรียน
    - สอนโดยวิธีบรรยาย
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความสำคัญของการพัฒนาชุมชน
    - การคิดวิเคราะห์เป็นกลุ่มและนำเสนอ
    - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 2

    สื่อการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 2
    (3) ใบงานที่ 2 รายงานกลุ่ม เรื่อง กรณีศึกษาการพัฒนาชุมชนเมือง และนำเสนอในรูปแบบ Info graphic ผ่าน Social Media
    3 หน่วยที่ 3 แนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมือง
    3.1 แนวคิดดั้งเดิมว่าด้วยเรื่องเมือง
    3.2 แนวคิดเครือข่ายทางสังคมสำหรับชุมชนเมือง
    3.3 แนวคิดนิเวศวิทยาเมือง
    3.4 แนวคิดมาร์กซิสกับความเป็นเมือง
    3.5 แนวคิดโครงสร้าง-ผู้กระทำการกับความเป็นเมือง
    3
    • K3: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมืองได้
    กิจกรรมการเรียน
    การสอน
    - ดำเนินการโดยบูรณาการวิธีการตามที่ระบุในหมวดที่ 4
    - นำเข้าสู่บทเรียน
    - สอนโดยวิธีบรรยาย
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นวิธีการพัฒนาชุมชนรูปแบบต่างๆ
    - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 3

    สื่อการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 3
    (3) การทดสอบย่อยครั้งที่ 1
    4 หน่วยที่ 4 การกลายเป็นเมือง
    4.1 ความแตกต่างของชุมชนชนบทและเมือง
    4.2 พัฒนาการของการศึกษาการกลายเป็นเมือง
    4.3 กระบวนการกลายเป็นเมือง
    4.4 ผลกระทบของการกลายเป็นเมือง
    3
    • K4: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการกลายเป็นเมืองในสังคมโลกได้
    กิจกรรมการเรียน
    การสอน
    - ดำเนินการโดยบูรณาการวิธีการตามที่ระบุในหมวดที่ 4
    - นำเข้าสู่บทเรียน
    - สอนโดยวิธีบรรยาย
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นอุปสรรคในการการเข้าถึงประชาชน
    - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 4

    สื่อการสอน
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 4
    (3) รายงานการวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบของการกลายเป็นเมือง
    (4) ใบงานที่ 3 การอ่านสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบของการกลายเป็นเมือง
    5 หน่วยที่ 5 รูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมือง
    5.1 หลักเบื้องต้นในการพัฒนาชุมชนเมือง
    5.2 รูปแบบในการพัฒนาชุมชนเมือง
    5.3 วิธีการในการพัฒนาชุมชนเมือง

    หน่วยที่ 6 ปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไข
    6.1 ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาเมือง
    6.2 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการพัฒนาเมือง
    6.3 แนวทางการแก้ไขปัญหาในการพัฒนาเมือง
    3
    • K5: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงรูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    กิจกรรมการเรียน
    การสอน
    หน่วยที่ 5 รูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมือง
    - ดำเนินการโดยบูรณาการวิธีการตามที่ระบุในหมวดที่ 4
    - นำเข้าสู่บทเรียน
    - สอนโดยวิธีบรรยาย
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในเรื่องต่างๆ
    - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 5

    หน่วยที่ 6 ปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไข
    - ดำเนินการโดยบูรณาการวิธีการตามที่ระบุในหมวดที่ 4
    - นำเข้าสู่บทเรียน
    - สอนโดยวิธีบรรยาย
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาถึงคุณสมบัติของนักพัฒนาที่ดี
    - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
    - มอบหมายงานตามใบงานที่ 6

    สื่อการสอน
    หน่วยที่ 5 รูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมือง
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 5
    (3) การทดสอบย่อยครั้งที่ 2
    หน่วยที่ 6 ปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไข
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 6
    (3) ใบงานที่ 4 การระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการพัฒนาเมือง

    6 ครั้งที่ 1 หน่วยที่ 7 การพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน
    7.1 ความหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    7.2 กระบวนการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน
    7.3 การพัฒนาชุมชนเมืองโดยองค์กรพัฒนาภาครัฐและเอกชน
    7.4 กรณีศึกษาการพัฒนาชุมชนเมืองในต่างประเทศ

    ครั้งที่ 2 การเตรียมตัวลงฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ผ่านระบบ Module ร่วม ในระยะเวลา 8 สัปดาห์
    3
    • K6: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไขได้
    • K7: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนได้
    กิจกรรมการเรียน
    การสอน
    สัปดาห์ที่ 6 ครั้งที่ 1
    - นำเข้าสู่บทเรียน
    - สอนโดยวิธีบรรยาย
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาถึงยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนของไทย
    - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
    สัปดาห์ที่ 6 ครั้งที่ 2
    - ดำเนินการโดยบูรณาการวิธีการตามที่ระบุในหมวดที่ 4
    - นำเข้าสู่บทเรียน
    - สอนโดยวิธีบรรยาย
    - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาถึงการเตรียมตัวลงฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ผ่านระบบ Module ร่วม ในระยะเวลา 8 สัปดาห์
    - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
    - มอบหมายการจัดทำ Term Paper (งานกลุ่ม)

    สื่อการสอน
    สัปดาห์ที่ 6 ครั้งที่ 1
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
    (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 7
    (3) การทดสอบย่อยครั้งที่ 3

    สัปดาห์ที่ 6 ครั้งที่ 2
    (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
    (2) แผนการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ
    (3) ตัวอย่างรายงานการวิจัย
    7-14 ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ 24
    • K1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงโครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมืองได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมาย ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมืองได้
    • K4: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการกลายเป็นเมืองในสังคมโลกได้
    • K5: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงรูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K6: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไขได้
    • K7: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียน
    การสอน
    ตามระบบ Module ร่วม

    สื่อการสอน
    ตามระบบ Module ร่วม
    15 การนำเสนอ Term Paper 3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงโครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมืองได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมาย ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมืองได้
    • K4: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการกลายเป็นเมืองในสังคมโลกได้
    • K5: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงรูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K6: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไขได้
    • K7: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียน
    การสอน
    - ดำเนินการโดยบูรณาการวิธีการตามที่ระบุในหมวดที่ 4
    - นักศึกษาจัดทำและนำเสนอ Term Paper (งานกลุ่ม)

    สื่อการสอน
    PowerPoint ประกอบการนำเสนอและสื่ออื่นที่นักศึกษาพัฒนาขึ้น
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    ใบงานที่ 1-4
    • K1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงโครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมืองได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมาย ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมืองได้
    • K4: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการกลายเป็นเมืองในสังคมโลกได้
    30
    การทดสอบย่อยครั้งที่ 1-3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงโครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมืองได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมาย ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมืองได้
    • K4: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการกลายเป็นเมืองในสังคมโลกได้
    • K5: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงรูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K6: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไขได้
    • K7: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    20
    การฝึกปฏิบัติในสถานประกอบกิจการ
    • K1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงโครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมืองได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมาย ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมืองได้
    • K4: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการกลายเป็นเมืองในสังคมโลกได้
    • K5: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงรูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K6: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไขได้
    • K7: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    20
    Term Paper
    • K1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงโครงสร้างและลักษณะของชุมชนเมืองได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมาย ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาชุมชนเมืองได้
    • K4: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการกลายเป็นเมืองในสังคมโลกได้
    • K5: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงรูปแบบและวิธีการในการพัฒนาชุมชนเมืองได้
    • K6: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปัญหาในการพัฒนาเมืองและการแก้ไขได้
    • K7: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงการพัฒนาชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2563). การพัฒนาชุมชนเมือง. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2557). การเป็นสมัยใหม่กับแนวคิดชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สร้างสรรค์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2544). ชุมชนนิยม: ฝ่าวิกฤตชุมชนล่มสลาย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอเชียเพลส. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2542). วาทกรรมการพัฒนา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิภาษา. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2542). วาทกรรมการพัฒนา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิภาษา. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา เบ็ญจมาศ สิริภัทร. (2544). ประชาคมรากหญ้า. กรุงเทพฯ : สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ปรีชา คุวินทร์พันธุ์. (2545). สังคมวิทยาและมานุษยวิทยานคร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ประเวศ วะสี. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงและประชาคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ณรัชช์อร (ณัฐนรี) ศรีทอง. (2554). การบริหารงานพัฒนาชุมชนเชิงยุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา สมนึก ปัญญาสิงห์. (2556). การพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืน. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2551). สังคมไทย : ลักษณะ การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนา. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2541). การพัฒนาชุมชนแบบการจัดการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอมีเทรดดิ้ง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา อภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ์. (2553). หลักการพัฒนาชุมชน. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา อนุชาติ พวงสำลี และกฤตยา อาชวนิจกุล. (2542). ขบวนการประชาสังคมไทย : ความเคลื่อนไหวภาคพลเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อัมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์พลับลิชชิ่ง จำกัด . อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยหน่วยงานภาคีผู้ร่วมผลิตบัณฑิต
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    • นำผลการประเมินโดยหน่วยงานภาคีผู้ร่วมผลิตบัณฑิตมาพัฒนา
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ