Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433802
ภาษาไทย
Thai name
ผู้ประกอบการสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
SOCIAL ENTREPRENEUR
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-1-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      หลักการ แนวคิด และองค์ประกอบของผู้ประกอบการสังคม การศึกษาภาคสนาม ด้านการจัดการพัฒนาสังคมและผู้ประกอบการสังคม กรณีศึกษาและการวิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วยทฤษฎีการพัฒนาสังคม
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Principles, concepts and components of social entrepreneur, field study on social development management of Social Entrepreneur, case studies and analysis and synthesis with social development theories
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Online learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Task-based learning
      • Project-based learning
      • Case discussion
      • Seminar
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 1. ชี้แจงเกี่ยวกับการเรียน การสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล
      2. ความเป็นมาเกี่ยวกับผู้ประกอบการสังคม
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่อง ความเป็นมาเกี่ยวกับผู้ประกอบการสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      2 แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ประกอบการสังคม
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่อง แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ประกอบการสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      3 แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ประกอบการสังคม (ต่อ)
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่อง แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ประกอบการสังคม (ต่อ)
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      4 ปัญหาสังคมและพันธกิจทางสังคม 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่อง ปัญหาสังคมและพันธกิจทางสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      5 ปัญหาสังคมและพันธกิจทางสังคม 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่อง ปัญหาสังคมและพันธกิจทางสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      6 นวัตกรรมทางสังคมและโมเดลทางธุรกิจ 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่อง นวัตกรรมทางสังคมและโมเดลทางธุรกิจ
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      7 นวัตกรรมทางสังคมและโมเดลทางธุรกิจ (ต่อ) 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่อง นวัตกรรมทางสังคมและโมเดลทางธุรกิจ (ต่อ)
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      8 นวัตกรรมทางสังคมและโมเดลทางธุรกิจ (ต่อ) 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่อง นวัตกรรมทางสังคมและโมเดลทางธุรกิจ (ต่อ)
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      9 การเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      10 การเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย (ต่อ) 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      11 การเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย (ต่อ) 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการสังคม: ประเทศไทย
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ (เพื่อให้เลือกกรณีศึกษาที่น่าสนใจมาวิเคราะห์)
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      12 ผู้ประกอบการสังคมในฝัน 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการสังคมที่นักศึกษาสนใจ
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      13 ผู้ประกอบการสังคมในฝัน 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการสังคมที่นักศึกษาสนใจ
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      14 ผู้ประกอบการสังคมในฝัน 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการสังคมที่นักศึกษาสนใจ
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      15 ผู้ประกอบการสังคมในฝัน
      สรุป
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย เรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการสังคมที่นักศึกษาสนใจ
      2 สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์
      3. ช่องทางการสอนระกอบการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      20
      งานเดี่ยว
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      40
      สอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเป็นผู้ประกอบการสังคม หลักการ แนวคิด ความสำคัญ
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรณีตัวอย่างด้วยทฤษฎีพัฒนาสังคม ตลอดจน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      40
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2558). Social Innovation. เชียงใหม่: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล สฤณี อาชวานันทกุล แปล. (2555). สร้างโลกไร้จน. นนทบุรี: โรงพิมพ์มติชนปากเกร็ด อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา โกศล ดีศีลธรรม. (2554). องค์กรทำดีเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ: นำอักษรการพิมพ์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ. (2558). สภา
      ปฏิรูปแห่งชาติ วาระปฏิรูปพิเศษ 1: วิสาหกิจเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงาน
      เลขาธิการสภาผู้แทนราษฏร.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา คณะผู้จัดทำรวมกิจการเพื่อสังคมในไทย. (2555). SE Catalog รวมกิจการเพื่อสังคมในไทย. กรุงเทพฯ:
      บริษัท ชิล ชิล แคปปิตัล จำกัด.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

      3. ด้านทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ