Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423303
ภาษาไทย
Thai name
เทคนิคการจัดการข้อมูลวิจัย
ภาษาอังกฤษ
English name
Research Data Management Technique
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-3-5)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
    • นักศึกษามีความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการข้อมูลการวิจัยได้ และสามารถแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้อย่างถูกต้อง
      • นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเคารพกฎกติกาหรือเงื่อนไขของชั้นเรียน หมายรวมถึง ความซื่อสัตย์ ความตรงต่อเวลา และความมีวินัย
      • นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
      • นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสืบค้นข้อมูล การจัดการข้อมูลการวิจัย การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      ภาษาอังกฤษ
      English
      The applications of computer programs for data retrieval; data management, for research, and the applications of computer programs for data analysis of quantitative and qualitative research in sociology and anthropology.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Task-based learning
      • Flipped classroom
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อการใช้งานในการวิจัย
      - การสร้างระบบความปลอดภัยในระบบข้อมูล
      - การสแกนไวรัสและป้องกันภัย
      - พื้นที่การใช้ฐานข้อมูลเก็บงานข้อมูลร่วมกัน
      10
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเคารพกฎกติกาหรือเงื่อนไขของชั้นเรียน หมายรวมถึง ความซื่อสัตย์ ความตรงต่อเวลา และความมีวินัย
      • C3: นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      1) ใช้บรรยายเนื้อหาในห้องเรียน ในประเด็น การสร้างระบบความปลอดภัยในระบบข้อมูล การสแกนไวรัสและป้องกันภัย
      และพื้นที่การใช้ฐานข้อมูลเก็บงานข้อมูลร่วมกัน
      2) ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานกับคอมพิวเตอร์เพื่อจัดการข้อมูลวิจัย และสามารถนำ ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
      .
      #แบบฝึกหัด : ให้นศ. จัดการระบบพื้นฐานสำหรับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการเรียนการสอนครั้งต่อไป ได้แก่ สร้างอีเมลภายใต้การดูแลของมหาวิทยาลัย การสร้างกลุ่มอีเมล การกำหนดพื้นที่ข้อมูล และการสร้างระบบความปลอดภัยให้กับข้อมูล เป็นต้น
      3-4 บทที่ 2 การใช้โปรแกรม MS Word เพื่อการวิจัย
      - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม MS Word
      - การทำจดหมายราชการและการสร้างจดหมายเวียน
      - การจัดทำรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
      10
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      • C3: นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      1) ใช้บรรยายเนื้อหาในห้องเรียน ในประเด็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม MS Wor การทำจดหมายราชการและการสร้างจดหมายเวียน และการจัดทำรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
      2) ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพิมพ์จดหมายราชการประเภทหนังสือภาย นอกและหนังสือภายใน เพื่อการประสานงานการวิจัยได้ ตลอดจนสามารถจัดรูปเล่มรายงานการวิจัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
      .
      #แบบฝึกหัด : ให้นศ. ร่างจดหมายหนังสือติดต่อราชการ และบันทึกข้อความ (หนังสือภายนอกและหนังสือภายใน) ตามระเบียบงานสารบัญ ของมหาวิทยาลัย ขอนแก่น
      5 บทที่ 3 การใช้ฐานข้อมูลเพื่อสืบค้นข้อมูลวิจัย
      - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
      - กระบวนการและเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
      - การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลออนไลน์
      5
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการข้อมูลการวิจัยได้ และสามารถแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้อย่างถูกต้อง
      • C3: นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      1) ใช้บรรยายเนื้อหาในห้องเรียน ในประเด็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น กระบวนการและเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ และแหล่งสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลออนไลน์
      2) ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการสืบค้นข้อมูลเอกสารงานวิจัยจากฐานข้อมูล สำคัญ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยของตนเองได้อย่างเหมาะสม
      .
      #แบบฝึกหัด : ให้นศ. สืบค้นสารสนเทศ ที่เป็นบทความทั้งในระดับชาติและนานาชาติ โดยมีคำสำคัญตามประเด็นปัจจุบันในสังคม หรือประเด็นการวิจัยของนักศึกษา
      6 บทที่ 4 การใช้โปรแกรมในการจัดระบบการอ้างอิงในงานวิจัย
      - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการระบบอ้างอิงในงานวิจัย
      - การจัดการระบบอ้างอิงในงานวิจัยด้วยโปรแกรม Zetero
      - การจัดการระบบอ้างอิงในงานวิจัยด้วยโปรแกรม Endnote
      5
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      • C3: นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      1) ใช้บรรยายเนื้อหาในห้องเรียน ในประเด็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการระบบอ้างอิงในงานวิจัย การจัดการระบบอ้างอิงในงานวิจัยด้วยโปรแกรม Zetero และการจัดการระบบอ้างอิงในงานวิจัยด้วยโปรแกรม Endnote
      2) ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถจัดเก็บรายการบรรณานุกรมหรือเอกสาร อ้างอิงที่ได้จากการค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เข้าไว้ด้วยกันในรูปแบบของ Library ด้วยการใช้งานร่วมกับโปรแกรม Microsoft Word ได้
      .
      #แบบฝึกหัด : ให้นศ. สืบค้นสารสนเทศที่เป็นเป็นบทความทั้งในระดับชาติและนานาชาติ แล้วนำมาจัดเก็บรายการเอกสาร อ้างอิง ด้วยโปรแกรม Zetero พร้อมสร้างรายการเอกสารอ้างอง ในรูปแบบ APA
      7-8 บทที่ 5 การใช้โปรแกรม Google ในการสร้างฐานข้อมูลวิจัย
      - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Google Apps
      - การลงชื่อเข้าสู่ระบบโปรแกรม Google Apps
      - การสร้างปฏิทินกิจกรรม โดยใช้ Google Calendar
      - การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ โดยใช้ Google Form
      10
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      • C2: นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
      • C3: นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      1) ใช้บรรยายเนื้อหาในห้องเรียน ในประเด็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Google Apps การลงชื่อเข้าสู่ระบบโปรแกรม Google Apps การสร้างปฏิทินกิจกรรม โดยใช้ Google Calendar และการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ โดยใช้ Google Form
      2) ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษาสร้างฐานข้อมูลวิจัยและสามารถนำไปปรับใช้ในการทำงานวิจัยได้ ตลอดจนสามารถใช้โปรแกรม Google Apps ในการสร้างฐานข้อมูลวิจัยได้
      .
      #แบบฝึกหัด : ให้กลุ่มวิจัยร่วมกันสร้างฐานข้อมูลวิจัยและแบบสอบถามออนไลน์ เพื่อจัด เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสาขาวิชา/คณะ
      9-10 บทที่ 6 การใช้โปรแกรม MS Excel ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
      - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม MS Excel
      - การสร้างฐานข้อมูล ด้วยโปรแกรม MS Excel
      - วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเบื้องต้น
      - วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติขั้นสูง
      10
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K2: นักศึกษามีความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการข้อมูลการวิจัยได้ และสามารถแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้อย่างถูกต้อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเคารพกฎกติกาหรือเงื่อนไขของชั้นเรียน หมายรวมถึง ความซื่อสัตย์ ความตรงต่อเวลา และความมีวินัย
      • C3: นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      1) ใช้บรรยายเนื้อหาในห้องเรียน ในประเด็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม MS Excel การสร้างฐานข้อมูล ด้วยโปรแกรม MS Excel วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเบื้องต้น และ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติขั้นสูง
      2) ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถสร้างฐานข้อมูลวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม MS Excel ได้อย่างเหมาะสมได้
      .
      #แบบฝึกหัด : ให้ นศ. ใช้สูตรและฟังก์ชันเพื่อจัดกระทำการกับข้อมูล พร้อมวิเคราะห์สถิติเบื้องต้นและทดสอบสมมติฐานการวิจัย โดยใช้สถิติหาความแตกต่าง
      11-12-13-14 บทที่ 7 การใช้โปแกรม Atlas ในการวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพ
      - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
      - โปรแกรมในการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ
      - การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยโปรแกรม ATLAS.ti
      20
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K2: นักศึกษามีความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการข้อมูลการวิจัยได้ และสามารถแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้อย่างถูกต้อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเคารพกฎกติกาหรือเงื่อนไขของชั้นเรียน หมายรวมถึง ความซื่อสัตย์ ความตรงต่อเวลา และความมีวินัย
      • C3: นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      1) ใช้บรรยายเนื้อหาในห้องเรียน ในประเด็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โปรแกรมในการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยโปรแกรม ATLAS.ti
      2) ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้โปรแกรม ATLAS.ti ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ และนำเสนอผลการวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม
      .
      #แบบฝึกหัด : ให้ นศ. ทำงานกับโปรแกรม ATLAS.ti โดยสร้าง Codes ที่มีQuotation สร้าง Momos สร้าง Family และสร้าง Networks แล้วนำ Coding ดังกล่าวมาวาดเป็นแผนมโนทัศน์ (Concept Diagrams) ตามทฤษฎีและแนวคิดที่ตั้งไว้
      15 บทที่ 8 การใช้โปรแกรม MS Powerpoint ในการนำเสนอข้อมูลการวิจัย
      - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม MS PowerPoint
      - การนำเสนอข้อมูลวิจัยด้วยโปรแกรม MS PowerPoint
      - การจัดทำ Infographic เพื่อนำเสนอข้อมูลวิจัย ด้วยโปรแกรม MS PowerPoint
      5
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      • C2: นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
      • C3: นักศึกษามีความตระหนักในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง
      1) ใช้บรรยายเนื้อหาในห้องเรียน ในประเด็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม MS PowerPoint การนำเสนอข้อมูลวิจัยด้วยโปรแกรม MS PowerPoint และการจัดทำ Infographic เพื่อนำเสนอข้อมูลวิจัย ด้วยโปรแกรม MS PowerPoint
      2) ปฏิบัติการในห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถทำ Infographic เพื่อนำเสนอข้อมูลวิจัยด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint ได้
      .
      #แบบฝึกหัด : ให้กลุ่มวิจัยนำข้อมูลสารสนเทศจากการเผยแพร่แบบสอบถามออนไลน์ (บทที่ 5) มานำเสนอนำเสนอผลการจัดเก็บฐานข้อมูลดังกล่าว ผ่านการทำ Infographic
      รวมจำนวนชั่วโมง 75 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน (ประเมินผลการสอนทาง online)
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      5
      การค้นคว้าด้วยตนเอง แบบฝึกหัด
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K2: นักศึกษามีความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการข้อมูลการวิจัยได้ และสามารถแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้อย่างถูกต้อง
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      20
      การจัดทำฐานข้อมูล งานกลุ่มๆละ 3 คน
      (เข้ากลุ่มโดยการจับสลาก)
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K2: นักศึกษามีความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการข้อมูลการวิจัยได้ และสามารถแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้อย่างถูกต้อง
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      25
      สอบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (สอบกลางภาค)
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K2: นักศึกษามีความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการข้อมูลการวิจัยได้ และสามารถแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้อย่างถูกต้อง
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      25
      สอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • K2: นักศึกษามีความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินการและมีทักษะในการประมวลผลการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความคล่องในปฏิบัติการกับระบบคอมพิวเตอร์
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการข้อมูลการวิจัยได้ และสามารถแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้อย่างถูกต้อง
      • S3: นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนองานภายใต้รูปแบบที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป็นต้น
      25
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา วณิชชา ณรงค์ชัย. (2561). เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 415 346 เทคนิคการจัดการข้อมูลวิจัย [RESEARCH DATA MANAGEMENT TECHNIQUE]. ขอนแก่น : กลุ่มวิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      อาจารย์ภายในคณะ
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

      3. ด้านทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ