Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423205
ภาษาไทย
Thai name
มานุษยวิทยาเรือนร่าง
ภาษาอังกฤษ
English name
Anthropology of the Body
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของเรือนร่าง และพัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา
  • นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
จริยธรรม
Ethics
  • มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ทักษะ
Skills
  • นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
ลักษณะบุคคล
Character
  • มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
ความหมายของเรือนร่าง พัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา และการสำรวจและวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
ภาษาอังกฤษ
English
Meanings of the body; development of the anthropology of the body; perspectives in the anthropological study of human bodies and embodiment; and exploration and critique of notions, knowledge, and sociocultural phenomenon regarding the human bodies and embodiment in different dimensions.
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Research-based learning
  • Task-based learning
  • Case discussion
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 แนะนำและชี้แจงเกี่ยวกับรายวิชา กิจกรรม และการประเมินผล
3
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation

2 ความหมายของเรือนร่าง และพัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง 3
  • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของเรือนร่าง และพัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube เป็นสื่อประกอบการสอน
- การอภิปราย
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3 มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube เป็นสื่อประกอบการสอน
- การอภิปราย
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
4 เรือนร่างกับความงาม 3
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube
- การอภิปราย
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
5 เรือนร่าง ความสะอาด และความสกปรก 3
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube เป็นสื่อประกอบการสอน
- การอภิปราย
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
6 เรือนร่าง ความเชื่อ และพิธีกรรม 3
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube
- การอภิปราย
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
7-8 เรือนร่าง เพศสภาพ และเพศวิถี 6
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube เป็นสื่อประกอบการสอน
- การอภิปราย
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
9-10 เรือนร่าง อัตลักษณ์ และการต่อรอง 6
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube เป็นสื่อประกอบการสอน
- การอภิปราย
- การมอบหมาย ให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
11 เรือนร่าง อำนาจ และการขัดขืน
3
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube เป็นสื่อประกอบการสอน
- การอภิปราย
- การมอบหมาย ให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
12-13 เรือนร่าง สุขภาพ และเทคโนโลยี 6
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube เป็นสื่อประกอบการสอน
- การอภิปราย
- การมอบหมาย ให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
14 เรือนร่างกับการกลายเป็นสินค้า 3
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การบรรยายโดยใช้ PowerPoint Presentation และ VDO ทาง YouTube เป็นสื่อประกอบการสอน
- การอภิปราย
- การมอบหมาย ให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
15 - การนำเสนอรายงานของนักศึกษา
- สรุป
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของเรือนร่าง และพัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
- การนำเสนอรายงานของนักศึกษา
- การสรุปความรู้ร่วมกันระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
สอบกลางภาค
  • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของเรือนร่าง และพัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
30
สอบปลายภาค
  • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของเรือนร่าง และพัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
30
การเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
  • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของเรือนร่าง และพัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
10
Article/Book/Movie Review
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
10
รายงานและการนำเสนอรายงาน
  • K1: นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของเรือนร่าง และพัฒนาการของมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์มิติในการศึกษาเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในเชิงมานุษยวิทยา
  • K3: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิพากษ์ความคิด ความรู้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างและรูปลักษณ์ของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ
  • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่าง
  • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมานุษยวิทยาเรือนร่างในบริบทสังคมไทยและนานาชาติ
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
20
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล, บรรณาธิการ. (2541). เผยร่าง-พรางกาย : ทดลองมองร่างกายในศาสนา ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ : คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล มิแช็ล ฟูโกต์. (2554). ร่างกายใต้บงการ : ปฐมบทแห่งอำนาจในวิถีสมัยใหม่. แปลโดย ทองกร โภคธรรม. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
หนังสือ หรือ ตำรา Napier, A. David. (1990). Foereign Bodies: Performance, Art, and Symbolic Anthropology. Berkeley & Los Angeles: University of California Press.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ครับผมกับค่ะขา. (2551). เพศพาณิชย์. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, http://www.oknation.net/blog/print.php?id=214095,สืบค้นเมื่อ 4 ก.พ. 2556.
หนังสือ หรือ ตำรา ณิชา. (2545). 1000 ปี ประเพณีกามรัญจวน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พลอยแกมเพชร.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2550). การเคลื่อนไหวร่างกายในบริบทวัฒนธรรม. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, http://www.sac.or.th/main/uploads/article/move.pdf, สืบค้นเมื่อ 15 ก.พ. 2556.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ---------------. (2550). มนุษย์กับการเต้น. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, http://www.sac.or.th/main/article_detail.php?article_id=36&category_id=11, สืบค้นเมื่อ 15 ก.พ. 2556.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ---------------. (2555). ซาวน่าเกย์กับการเผยร่าง. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, http://www.bangkokrainbow.org/bangkokrainbow/Article/Entries/2012/4/25_saw_na_key_kab_kar_phey_rangExposing_Body__Thai_Gay_Men_in_Sauna_Space.html, สืบค้นเมื่อ 17 ก.พ. 2556.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ธนัย เกตวงกต. (2553). นาฬิกากับอำนาจในการควบคุมกายภาพและจิตภาพของมนุษย์ที่มองไม่เห็น. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, http://www.proton.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_content&task= view&id=2063, สืบค้นเมื่อ 8 ม.ค. 2556.
หนังสือ หรือ ตำรา เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2544). วิทยาศาสตร์กับการค้นหาความหมายของจิตรกรรมไทยแบบจารีต: เรือนร่างในงานจิตรกรรมไทยแบบประเพณี. ใน วิทยาศาสตร์กับความจริงในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : คบไฟ.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Blacking, John. (1977). Towards an Anthropology of the Body. In The Anthropology of the Body. John Blacking, ed. Pp. 1-28. London: Academic Press.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Blake, C. F. (1994). Foot Binding and the Appropriation of Female Labor. Signs 19(3):676-712.
หนังสือ หรือ ตำรา Brain, Robert. (1979). The Decorated Body. New York: Harper & Row, Publishers.
หนังสือ หรือ ตำรา Brown, Peter. (1988). The Body and Society: Men, Women, and Sexual Renunciation in Early Christianity. New York: Columbia University Press.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Butler, Judith. (1989). Foucault and the Paradox of Bodily Inscriptions. Electronic document, http://www.egs.edu/faculty/judith-butler/articles/foucault-and-the-paradox-of-bodily-inscriptions, accessed January 25, 2013.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Cadrez, Jaynee. (2013). The Body as a Social Construction. Electronic document, http://www.cirquelodge.com/Articles/Body.php, accessed February 17, 2013.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Coelsch-Foisner, Sabine.(2013). A Body of Her Own: Cultural Constructions of the Female Body in A.S.Byatt's Strange Stories. Electronic document, http://reconstruction.eserver.org/034/coelsch.htm,accessed February 7, 2013.
หนังสือ หรือ ตำรา Danesi, Marcel and Paul Perron. (1999). Analyzing Cultures: An Introduction Handbook. Bloomington and indianapolis: Indiana University Press.
หนังสือ หรือ ตำรา Davis-Floyd, Robbie. (1994). The Ritual of American Hospital Birth. In Conformity and Conflict: Readings in Cultural Anthropology. 8th edition. David McCurdy, ed. Pp.323-340. New York: HarperCollins.
หนังสือ หรือ ตำรา Deocadiz, Mirella. (2011). Beauty: A Cultural Construction or the Natural Order? Electronic document,
http://serendip.brynmawr.edu/exchange/node/9207, accessed September 18, 2012.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Frank, Arthur W. (1991). For a Sociology of the Body: An Analytical Review. In The Body: Social Process and Cultural Theory. Mike Featherstone, Mike Hepworth, and Bryan S. Turner, eds. Pp. 36-102. London: Sage.
หนังสือ หรือ ตำรา Green, Jill. (2008). American Body Pedagogies: Somatics and the Cultural Construction of Bodies in
the Institution of Higher Education. Electronic document, http://content4.bestthinking.com/s/1/
thinkers/864/media/75cd883e-c887-4589-b101-5a0d3b901bdc.pdf, accessed February 18, 2013.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Halliburton, Murphy. (2002). Rethinking Anthropological Studies of the Body: Manas and Bōdham in Kerala. American Anthropologist 104(4):1123-1134.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Harkin, Michael. (1994). Contested Bodies: Affliction and Power in Heiltsuk Culture and History. American Ethnologist 21(3):586-605.
หนังสือ หรือ ตำรา Harkin, Michael. (1994). Contested Bodies: Affliction and Power in Heiltsuk Culture and History. American Ethnologist 21(3):586-605.
หนังสือ หรือ ตำรา Kirk, David. (2002). The Social Construction of the Body in Physical Education and Sport. In The Sociology of Physical Education and Sport: An Introductory Reader. Anthony Laker, ed. Pp.79-91 London: Taylor & Francis.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Leipämaa-Leskinen, Hanna. (2011). Cultural Analysis of Dieting Consumers' Construction of Bodies and Identities. Qualitative Market Research: An International Journal 14(4):360-373.

บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Lock, Margaret. (1993). Cultivating the Body: Anthropology and Epistemologies of Bodily Practice and Knowledge. Annual Review of Anthropology 22:133-55.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Lorber, Judith and Patricia Yancey Martin. (2011). The Socially Constructed Body: Insights From Feminist
Theory. In Illuminating Social Life: Classical and Contemporary Theory Revisited. Peter Kvisto,
ed. Pp. 183-206 Thousand Oaks: Pine Forge Press. 5th ed.
(http://www.sociology.fsu.edu/people/martin/martin_kvisto_chapter.pdf)
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ McCallum, Cecilia. (2005) Racialized Bodies, Naturalized Classes: Moving through the city of Salvador da Bahia. American Ethnologist 32(1):100-117.
หนังสือ หรือ ตำรา Miller, John. (1997). Beauty. San Francisco: Chronicle Books.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Moumni, Omar. (2009). Fashion Photography: Gender and the Construction of a New Culteral Identity. Afroeuropa 3(2). (http://journal.afroeuropa.eu/index.php/afroeuropa/article/viewFile/152/135)
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Obermeyer, Carla Makhlouf. (2003). The Health Consequences of Female Circumcision: Science,
Advocacy, and Standards of Evidence. Medical Anthropology Quarterly 17(3):394-412.
หนังสือ หรือ ตำรา Oloruntoba-Oju, Taiwo. (2007). Body Images, Beauty Culture and Language in the Nigeria, African Context. Electronic document, http://www.arsrc.org/downloads/uhsss/oloruntoba-oju.pdf, accessed February 18, 2013.
หนังสือ หรือ ตำรา O’Neill, John. (1985). Five Bodies: The Human Shape of Modern Society. Ithaca & London: Cornell University Press. .
หนังสือ หรือ ตำรา Pei-Hsuan Hsieh, Julia. (2013). The Body and Difference. Electronic document, http://www.eng.fju.edu.tw /Literary_Criticism/cultural_studies/body_1.htm, accessed February 9, 2013.
หนังสือ หรือ ตำรา Phillips, Jenny. (2001). Cultural Construction of Manhood in Prison. Psychology of Men and Masculinity 2(1):13-23.
หนังสือ หรือ ตำรา Popenoe, Rebecca. (2003). Feeding Desire: Fatness, Beauty and Sexuality Among a Saharan People. London: Routledge.
หนังสือ หรือ ตำรา Rothman, Sheila M. and David J. Rothman. (2003). The Pursuit of Perfection: The Promise and Perils of Medical Enhancement. New York: Pantheon.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Sasson-Levy, Orna and Tamar Rapoport. (2003). Body, Gender, and Knowledge in Protest Movements: The Israeli Case. Gender and Society 17(3):379-403.
หนังสือ หรือ ตำรา Shaw, Alison and Shirley Ardener, eds. (2005). Changing Sex and Bending Gender. New York & Oxford: Berghahn Books.
หนังสือ หรือ ตำรา Shilling, Chris. (2003). The Body and Social Theory. London: Sage.
หนังสือ หรือ ตำรา Shilling, Chris. (2005). The Body in Culture, Technology, and Society. London: Sage Publications.
หนังสือ หรือ ตำรา Talarsky, Laura. (2013). Defining Aging and the Aged: Social and Cultural Constructions of Elders in
the U.S. Electronic document, http://arizona.openrepository.com/arizona/bitstream/10150/ 110216/1/azu_gn1_a785_n13_101_107_w-ocr.pdf, accessed February 11, 2013.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Turner, Bryan S. (1991). Recent Developments in the Theory of the Body. In The Body: Social Process
and Cultural Theory. Mike Featherstone, Mike Hepworth, and Bryan S. Turner, eds. Pp. 1-36.
London: Sage.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Vincent, John A. (2006). Ageing Contested: Anti-ageing Science and the Cultural Construction of Old Age.
Sociology 40(4): 681–698.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Shihadeh, Ayman. (2012). Classical Ash'ari Anthropology: Body, Life and Spirit. The Muslim World 102 (3-4):433-477.
หนังสือ หรือ ตำรา Synnott, Anthony. (1993). The Body Social: Symbolism, Self, and Society. London: Routledge.
หนังสือ หรือ ตำรา Wallace-Sanders, Kimberly, ed. (2002). Skin Deep, Spirit Strong: The Black Female Body in American Culture. Ann Arbor: University of Michigan Press.
หนังสือ หรือ ตำรา Weiss, Meira. (2002). The Chosen Body: The Politics of the Body in Israeli Society. Stanford: Stanford University Press.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ข้อแตกต่างระหว่าง Metrosexual กับ Gay. URL: http://men.mthai.com/grooming/4670.html
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ชายสำอางยุคใหม่ "เมโทรเซ็กชวล" พันธุ์ไทย จ่ายเงินซื้อหล่อ. URL: http://www.prachachat.net/news_detail. php?newsid=1327562335&grpid=09&catid=no
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ปลดปล่อยด้วยฮิญาบ (ตอนที่ 2). URL: http://www.ahlulbait.org/main/printable.php?category=5&id=1111
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ปฏิทินเปลือย เบียร์ กฎหมาย และระบบคิดแบบชายเป็นใหญ่. URL: http://www.stopdrink.com/index.php? modules=news&type=1&id=1251
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ เปลือย หรือ หรือศิลป หรืออนาจาร. URL: http://www.kroobannok.com/blog/27259
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ พรมแดนความรู้ มานุษยวิทยากับการศึกษารัฐ ความทรงจำ พื้นที่สาธารณะ ศิลปะ คติชน และการเขียนงานชาติพันธุ์.
URL: http://www.reocities.com/midculture44/newpage5.html
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ แฟชั่นบนเรือนร่าง (Piercing & Tattoos). URL: http://www.globalfashionreport.com/c5864 -แฟช-นบนเร-อนร-าง-piercing-tattoos
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ รวมรอยสักสุดเท่ จากทั่วทุกมุมโลก! URL: http://lifestyle.th.msn.com/beauty/รวมรอยสักสุดเท่-จากทั่วทุกมุมโลก
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ โรคกลัวอ้วน (Anorexia Nervosa). URL: http://www.bangkokhealth.com/index.php/health/health-year/teens/216
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ โรคกลัวอ้วน-anorexia-nervosa.html
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ศิลปะกับอนาจาร. URL: http://www.scribd.com/doc/6740232/ศิลปะกับอนาจาร
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ สุขภาพ : กระบวนทัศน์ทางมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. URL: http://www.thaipopulation.org/Stable/index.php? option=com_docman&task=doc_download&gid=6&Itemid=
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนามหายาน. URL: http://hselearning.kku.ac.th/UserFiles/chapter-3%281%29.pdf
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ African Scarification to Decorate and Beatify the Body. URL: http://www.ezakwantu.com/Gallery%20 Scarification.htm
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Body image: A cultural construction. URL: http://www.examiner.com/article/body-image-a-cultural-construction
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Beauty is a cultural construction. What I do with my body is none of your business.
URL: http://community.feministing.com/2011/06/10/beauty-is-a-cultural-construction-what-i-do-with-my-body-is-none-of-your-business
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Bound Feet. URL: http://www.josephrupp.com/history.html
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Chinese Foot Binding in Pictures. URL: http://www.environmentalgraffiti.com/news-foot-binding
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Circumcision. URL: http://en.wikipedia.org/wiki/Circumcision
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Circumcision and Footbinding. URL: http://www.circumstitions.com/Foot.html
โปรแกรมวีดีทัศน์ Cultural Constructions of "Obesity": Understanding Body Size, Social Class and Gender in Morrocco.
URL: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21185216
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Cultural Encyclopedia of the Body. URL: http://www.scribd.com/doc/75576414/Cultural-Encyclopedia-of-the-Body
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Human Billboard : โฆษณาบนเรือนร่างมนุษย์. URL: http://www.artsmen.net/content/show.php? Category=newsboard&No=4413
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Metrosexual Rules 15 กฏเหล็กข้อห้ามของหนุ่มเมโทรเซ็กชวล. URL: http://men.mthai.com/grooming/5436. html
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Painful Memories for China's Footbinding Survivors. URL: http://www.npr.org/templates/story/ story.php?storyId=8966942
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Religious male circumcision. URL: http://en.wikipedia.org/wiki/Religious_male_circumcision
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Scarification. URL: http://en.wikipedia.org/wiki/Scarification
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Scarification: Ancient Body Art Leaving New Marks. URL: http://news.nationalgeographic.com/news/ 2004/07/0728_040728_tvtabooscars_2.html
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Scarification and Cicatrisation among African cultures. URL: http://www.randafricanart.com/ Scarification_and_Cicatrisation_among_African_cultures.html
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Tā moko. URL: http://en.wikipedia.org/wiki/T%C4%81_moko
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The body as a biological, social and cultural construction. URL: http://www.sdu.dk/en/Forskning/PhD/ Phd_skoler/PhdSkolenSundhedsvidenskab/PhdStuderendeSundhedsvidenskab/PhdKurser/Ph,-d-,d,-d-,-kurser/HumSund_Kroppen
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Cultural Construction of the Body and the Embodiment of Culture in Nineteenth Century America. URL: http://alexstingl.webs.com/EnglishStinglBody2010.pdf
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Māori: The Tattoo (Ta Moko). URL: http://history-nz.org/maori3.html
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Ritual of Hospital Birth: Birth as an American Rite of Passage. URL: http://www.thefreelibrary.com/ The+Ritual+of+Hospital+Birth%3A+Birth+as+an+American+Rite+of+Passage.-a014235391
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Technocratic Model of Birth. URL: http://davis-floyd.com/the-technocratic-model-of-birth
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Technocratic Body: American Childbirth as Cultural Expression. URL: http://davis-floyd.com/the-technocratic-body-american-childbirth-as-cultural-expression
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Writing the Body: Body Hair and Its Cultural Implication. URL: http://www.hercircleezine.com/2011/07/14/writing-the-body-body-hair-and-its-cultural-implications
หนังสือ หรือ ตำรา Fushiki, Kaori and Ryoko Sakurada, eds. (2023). Anthropology through the Experience of the Physical Body. Singapore: Springer. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Mascia-Lees, Frances E., ed. (2011). A Companion to the Anthropology of the Body and Embodiment. Malden, MA: Wiley-Blackwell. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Davis, Kathy. (1995). Reshaping the Female Body: The Dilemma of Cosmetic Surgery. New York & London: Routledge. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Farquhar, Judith, and Margaret Lock, eds. (2007). Beyond the Body Proper: Reading the Anthropology of Material Life. Durham, NC: Duke Univ. Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Frith, Katherine et al. (2013). The Construction of Beauty: A Cross-Cultural Analysisof Women’s
Magazine Advertising. Electronic document, http://icm.cm.nsysu.edu.tw/teacher/JOC.pdf,
accessed February 18, 2013.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Howson, Alexandra. (2004). The Body in Society: An Introduction. Cambridge: Polity Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Jackson, Michael. (1983). Knowledge of the Body. Man (n.s.) 18:327-345. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Soukup, Martin and Dvoráková, Michaela. (2016). Anthropology of Body: The Concept Illustrated on an Example of
Eating Disorders. Slovensky Narodopis; Bratislava 64(4):513-529.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ van Wolputte, Steven. (2004). Hang on to your self: Of bodies, embodiment, and selves. Annual Review of
Anthropology 33:251–269.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ