Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423206
ภาษาไทย
Thai name
ลุ่มน้ำโขงศึกษา
ภาษาอังกฤษ
English name
MEKONG STUDIES
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
  • มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
จริยธรรม
Ethics
    ทักษะ
    Skills
    • มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ลักษณะทางภูมินิเวศน์ พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ความหลากหลาย
    ของเชื้อชาติและวัฒนธรรมของประเทศในอนุภาคลุ่มน้ำโขง ความร่วมมือและ
    การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สภาพและความสำคัญ
    ปัจจุบันของกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขงในบริบทของภูมิภาคนิยม และโลกาภิวัตน์
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Geo- ecology characteristics, historical development, diversities of
    cultures and ethnicity in Mekong countries, co-operations and changes in the
    socio- economic and political aspects, current state and significance of
    Mekong countries in regionalism and globalization context
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Project-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชา กิจกรรมการเรียนการสอนการประเมินผล การนำเข้าสู่การเรียน 3
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    -บรรยาย และแจกประมวลรายวิชา
    - แลกเปลี่ยนความคิด และความคาดหมายของผู้เรียนจากการเรียนวิชานี้
    - กรณีศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์
    - สื่อวิดิทัศน์
    -ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    -YouTube

    ในห้องเรียน
    2 1. ลักษณะทางภูมินิเวศน์ และพื้นฐานทางวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 3
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    -บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีจาก YouTube
    -กรณีศึกษาจาก Web site
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    -อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นลักษณะทางภูมินิเวศน์ และพื้นฐานทางวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในห้องเรียน
    3 2.พัฒนาการทางประวัติศาสตร์และความเป็นมาของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    3
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดี
    -เอกสารประกอบการสอน
    - Power Point
    -สื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษา ประวัติศาสตร์และความเป็นมาของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
    4,5,6 3. ความหลากหลายของเชื้อชาติและวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    9
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีโปรแกรมวีดีทัศน์
    -ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    -ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอผลการศึกษาตาประเด็นที่ได้รับมอบหมาย
    -วิเคราะห์บทวิจัย หรือบทความวิชาการในประเด็นหลากหลายของเชื้อชาติและวัฒนธรรม
    ในห้องเรียน
    7 4.เศรษฐกิจ การตลาด การค้า ในลุ่มน้ำโขง 3
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    -บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ การตลาด การค้า ในลุ่มน้ำโขง
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    -ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    -วิเคราะห์บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    -ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
    8,9 5.การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    -บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดี
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    -อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องเรียน
    10,11 6. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในลุ่มน้ำโขงและผลกระทบ 6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    -บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีหนังสือ หรือ ตำรา
    -ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
    12,13,14 7 .ลุ่มน้ำโขงในประชาคมโลกและกระแสโลกาภิวัตน์
    6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    -บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดี
    - กรณีศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์หรือ อีเลกทรอนิกส์
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    -ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอการเปลี่ยนแปลงลุ่มน้ำโขงในประชาคมโลกและกระแสโลกาภิวัตน์
    14,15 -การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา
    - สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลการสอน
    6
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    -นำเสนอผลการค้นคว้า

    -อภิปราย แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์

    -ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหาที่นำเสนอในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการค้นคว้าด้วยตนเอง
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • A1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • A2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • A3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    20 ทุกสัปดาห์ที่มีการจัดการเรียนการสอนตามที่ระบุข้างต้น
    การเขียนรายงานผลการศึกษาประเด็นความรู้เกี่ยวกับลุ่มน้ำโขงศึกษา
    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • A1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • A2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • A3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    20 สัปดาห์ที่ 10 11, 12และ 13
    การสอบ

    • K1: มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • K2: มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมต่างๆ ในสังคม
    • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่เกี่ยวข้องกับมิติด้านต่างๆของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมถึงงานวิจัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    60 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2548). การค้าชายแดนไทยกับเพื่อนบ้าน 5 ประเทศ. กรุงเทพฯ : ไม่ปรากฏสำนักพิมพ์
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ชรินทร์ ยงศิริ. (2547). การค้าชายแดนไทยกับอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2541). เศรษฐกิจมณฑลยูนนาน(จีน) : ข้อมูลสำหรับนักธุรกิจไทย. กรุงเทพฯ :
    สถาบันเอเชีย ตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม วารินทร์ วงศ์หาญเชาว์ และคณะ. (2547). ยุทธศาสตร์การค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนประเทศไทยกับประเทศในกลุ่ม
    อนุภูมิภาคแม่น้ำโขง. กรุงเทพฯ : สถาบันยุทธศาสตร์การค้า.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.mekonglover.com/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.textbooksproject.com/
    ใช้ประกอบการสอนในหัวข้อที่ 1, 2, 4, 5, 6 และ 7
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ