รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
แนะนำรายวิชา หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. แนะนำรายวิชา/ชี้แจงกระบวนการเรียนการสอน และการส่งงานผ่านระบบ KKU E-Learning และ/หรือโปรแกรม Google Classroom 2. นักศึกษาทำ Pre-test ก่อนเข้าสู่บทเรียน 3. นักศึกษาชมสื่อที่เกี่ยวข้อง และอาจารย์บรรยายทั้งในชั้นเรียนและ/หรือผ่านโปรแกรม Google Meet 4. นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย 5. สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1. เอกสารแผนการสอน 2. PowerPoint 3. Multimedia (YouTube) 4. Pre-test |
|
3-5 |
หน่วยที่ 2 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการศึกษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
9 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายในชั้นเรียนและ/หรือผ่านโปรแกรม Google Meet 2. นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย 3. สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย 4. นักศึกษาสอบย่อย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1. PowerPoint 2. Multimedia (YouTube) 3. สอบย่อย (Quiz) |
|
6-7 | หน่วยที่ 3 นิเวศบริการ (Ecosystem Services) | 6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายในชั้นเรียนและ/หรือผ่านโปรแกรม Google Meet 2. นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำใบงานที่ 1 (งานกลุ่ม) 3. นักศึกษานำเสนอผลงาน นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย 4. สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1. PowerPoint 2. Multimedia (YouTube) 3. ใบงานที่ 1 (งานกลุ่ม) |
|
8-9 |
หน่วยที่ 4 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายในชั้นเรียนและ/หรือผ่านโปรแกรม Google Meet 2. นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำใบงานที่ 2 (งานกลุ่ม) 3. นักศึกษานำเสนอผลงาน นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย 4. สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1. PowerPoint 2. Multimedia (YouTube) 3. ใบงานที่ 2 (งานกลุ่ม) |
|
10-11 |
หน่วยที่ 5 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environment Impact Assessment: EIA) |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายในชั้นเรียนและ/หรือผ่านโปรแกรม Google Meet 2. นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำใบงานที่ 3 (งานกลุ่ม) 3. นักศึกษานำเสนอผลงาน นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย 4. สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1. PowerPoint 2. Multimedia (YouTube) 3. ใบงานที่ 3 (งานกลุ่ม) |
|
12 |
หน่วยที่ 6 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
3 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายในชั้นเรียนและ/หรือผ่านโปรแกรม Google Meet 2. นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย 3. สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1. PowerPoint 2. Multimedia (YouTube) |
|
13-15 | หน่วยที่ 7 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | 9 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายในชั้นเรียนและ/หรือผ่านโปรแกรม Google Meet 2. นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อจัดทำรายงานกลุ่ม 3. นักศึกษานำเสนอผลงาน นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย 4. สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย 5. นักศึกษาทำ Post-test สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน 1. PowerPoint 2. Multimedia (YouTube) 3. รายงานกลุ่ม 4. Post-test |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การศึกษาค้นคว้าและนำเสนอ (ใบงานที่ 1-3 และรายงาน) และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
50 |
1-15 |
การสอบย่อย |
|
10 |
นัดหมายนอกตารางปฏิทินมหาวิทยาลัย |
การสอบปลายภาค |
|
40 |
ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | เศกสรรค์ ยงวณิชย์. (2542). มนุษย์และสิ่งแวดล้อม. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
เกษม จันทร์แก้ว. (2551). วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
จักรพันธุ์ ปัญจะสุวรรณ. (2545). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2540). สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2542). เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ยศ สันตสมบัติ. (2547). นิเวศวิทยาชาติพันธุ์ทรัพยากรชีวภาพและสิทธิชุมชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาความ หลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | เศกสรรค์ ยงวณิชย์. (2545). มนุษย์และสิ่งแวดล้อม. ขอนแก่น: มปพ. | อาจารย์ภายในคณะ | |
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (www.tei.or.th) |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (www.onep.go.th) |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) (www.environnet.in.th) |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้
อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ