Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส
French
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS733501
ภาษาไทย
Thai name
วรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอก
ภาษาอังกฤษ
English name
FRENCH MASTERPIECES
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS703501#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกได้
    • นักศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพสังคมในตัวบทและสภาพสังคมตามจริงได้
    • นักศึกษาจำแนกลักษณะเด่นของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกคัดสรรได้
    • นักศึกษาอธิบายหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมสู่บทละครได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาสรรค์สร้างผลงานเพื่อจรรโลงสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาวิเคราะห์ตัวบทวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกตามทฤษฎีและแนวคิดที่ได้ศึกษาเพื่อนำไปสู่การวิจารณ์
    • นักศึกษาเขียนบทละครที่มาจากการประยุกต์สารัตถะในตัวบทวรรณกรรมที่ศึกษาและหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การวิเคราะห์องค์ประกอบ ความสัมพันธ์กับสังคม ลักษณะเด่นของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกคัดสรร และการดัดแปลงวรรณกรรมเป็นบทละคร
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Analysis of French masterpieces compositions, social relations, outstanding characteristics of selected French masterpieces and and the adaptation of literature into plays
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - แนะนำรายวิชา วิธีการการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล
    - ทบทวนความรู้ด้านกระแสวรรณกรรมฝรั่งเศสสมัยคริสต์วรรษที่ 20
    - แนะนำนวนิยายเรื่อง L'Amant ของ Marguerite Duras
    - หลักการพิจารณาคุณค่าวรรณคดีเบื้องต้น
    3
    • K1: นักศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกได้
    • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.บรรยายแนะนำแนวทางกาเรียนการสอน
    2.แนะนำเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ที่จะใช้ในวิชา
    3. การแข่งขันตอบคำถาม
    4. การแสดงความคิดเห็น


    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1. ประมวลรายวิชา
    2. ใบงาน Jeu littéraire ผ่าน google classroom
    *เอกสารและสื่อสามารถเข้าถึงได้จาก Google Classroom
    2-3 หัวข้อที่ 1
    1. การวิเคราะห์องค์ประกอบวรรณคดีเรื่อง L'Amant
    รูปแบบ
    การดำเนินเรื่อง
    โครงเรื่อง
    ฉาก
    ตัวละคร
    กลวิธีการประพันธ์
    การใช้ภาษา
    6
    • K1: นักศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกได้
    • K3: นักศึกษาจำแนกลักษณะเด่นของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกคัดสรรได้
    • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1. การบรรยาย
    2. การทำกิจกรรมกลุ่ม
    3.การอภิปรายกลุ่มย่อย
    4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม
    5.วิเคราะห์ตัวบทประพันธ์คัดสรร
    6.ฝึกปฎิบัติการวิเคราะห์

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1.เอกสารประกอบการสอน
    2.สไลด์
    3.แบบฝึกปฎิบัติการวิเคราะห์
    4.สื่อภาพยนตร์เรื่อง The Lover
    5.แบบฝึกหัดหลังเรียน ผ่าน google classroom
    *เอกสารและสื่อสามารถเข้าถึงได้จาก Google Classroom
    4-6 หัวข้อที่ 2
    2. การพิจารณาตัวบทที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “วรรณคดี”
    2.1 รูปแบบการประพันธ์เฉพาะตัว อันได้แก่
    - ระดับภาษา
    - วัจนลีลา
    2.2 คุณค่างานประพันธ์
    - การก่อให้เกิดสำนึกร่วมกันในสังคม
    9
    • K1: นักศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกได้
    • K3: นักศึกษาจำแนกลักษณะเด่นของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกคัดสรรได้
    • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1. การบรรยาย
    2. การทำกิจกรรมกลุ่ม
    3.การอภิปรายกลุ่มย่อย
    4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม
    5.วิเคราะห์ตัวอย่างวรรณคดีชิ้นเอกคัดสรร
    6.ฝึกปฎิบัติวิเคราะห์
    7.มอบหมายค้นคว้า
    8. แบ่งกลุ่มนักศึกษา 4 กลุ่มและให้เลือกวรรณคดีชิ้นเอกคัดสรรที่นักศึกษาสนใจศึกษาเพื่อนำเสนอในสปัปดาห์ที่ 11-14และเขียนรายงานส่งในสัปดาห์ที่ 15

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1.เอกสารประกอบการสอน Stylistique littéraire
    2. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง littérature et la société du XXe siècle
    3. สไลด์ประกอบการเรียนการสอน และใบงาน
    *เอกสารและสื่อสามารถเข้าถึงได้จาก Google Classroom
    7-10 หัวข้อที่ 3
    3. การวิเคราะห์เชิงทฤษฎีวรรณกรรมเรื่อง L'Amantกับศาสตร์ด้านอื่น ๆ
    3.1 สังคมวิทยาในวรรณกรรม
    3.2 วรรณคดีกับศิลปะแขนงอื่นๆ อาทิ ภาพยนตร์ ดนตรี
    3.3 วรรณคดีกับจิตวิเคราะห์

    12
    • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพสังคมในตัวบทและสภาพสังคมตามจริงได้
    • K3: นักศึกษาจำแนกลักษณะเด่นของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกคัดสรรได้
    • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1. การบรรยาย
    2. การทำกิจกรรมกลุ่ม
    3.การอภิปรายกลุ่มย่อย
    4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม
    5.วิเคราะห์ตัวอย่างวรรณคดี ชิ้นเอกคัดสรร
    6.ฝึกปฎิบัติวิเคราะห์
    7.มอบหมายค้นคว้า

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1. เอกสารเรื่องแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาในวรรณกรรม
    2. บทความเกี่ยวกับวรรณกรรมแปรรูป การดัดแปลงวรรรกรรมสู่ภาพยนตร์
    3. บทความและงานวิจัยเกี่ยวกับการใช้จิตวิเคราะห์วิจารณ์วรรณกรรม
    4. สื่อภาพยนตร์เรื่อง The Lover
    *เอกสารและสื่อสามารถเข้าถึงได้จาก Google Classroom
    11-14 หัวข้อที่ 4
    การสร้างสรรค์งานวรรณกรรมสู่บทละครเวที L'Amant
    12
    • K4: นักศึกษาอธิบายหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมสู่บทละครได้
    • S1: นักศึกษาวิเคราะห์ตัวบทวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกตามทฤษฎีและแนวคิดที่ได้ศึกษาเพื่อนำไปสู่การวิจารณ์
    • S2: นักศึกษาเขียนบทละครที่มาจากการประยุกต์สารัตถะในตัวบทวรรณกรรมที่ศึกษาและหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมได้
    • E1: นักศึกษาสรรค์สร้างผลงานเพื่อจรรโลงสังคม
    • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1. ฟังบรรยายหลักการเขียนบทละครเวที
    2. ฝึกการเขียนเค้าโครงบทละคร
    2. การอภิปรายกลุ่มย่อย
    3. ปฏิบัติการเขียนบทละครเวทีเรื่อง L'Amant

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1. เอกสารประกอบการนำเสนอผลงาน
    2. ใบแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้ร่วมเรียน
    *เอกสารและสื่อสามารถเข้าถึงได้จาก Google Classroom
    15 การแสดงละเครเวทีเรื่อง L'Amant
    3
    • S2: นักศึกษาเขียนบทละครที่มาจากการประยุกต์สารัตถะในตัวบทวรรณกรรมที่ศึกษาและหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมได้
    • E1: นักศึกษาสรรค์สร้างผลงานเพื่อจรรโลงสังคม
    • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.นำเสนอ
    2. ซักถาม
    3.แบบฝึกหัดหลังเรียน

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1.สไลด์ประกอบการบรรยาย
    2. ใบสรุปความรู้หลังเรียน
    *เอกสารและสื่อสามารถเข้าถึงได้จาก Google Classroom
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    ทดสอบย่อย
    งานเดี่ยว
    • K1: นักศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกได้
    • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพสังคมในตัวบทและสภาพสังคมตามจริงได้
    • K3: นักศึกษาจำแนกลักษณะเด่นของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกคัดสรรได้
    20 ทดสอบย่อย 2 ครั้ง
    การนำเสนอหน้าชั้นเรียนและอภิปรายกลุ่ม
    งานกลุ่ม
    • K1: นักศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกได้
    • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพสังคมในตัวบทและสภาพสังคมตามจริงได้
    • K4: นักศึกษาอธิบายหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมสู่บทละครได้
    • S1: นักศึกษาวิเคราะห์ตัวบทวรรณคดีฝรั่งเศสชิ้นเอกตามทฤษฎีและแนวคิดที่ได้ศึกษาเพื่อนำไปสู่การวิจารณ์
    • S2: นักศึกษาเขียนบทละครที่มาจากการประยุกต์สารัตถะในตัวบทวรรณกรรมที่ศึกษาและหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมได้
    30 นำเสนอและอภิปรายกลุ่มละ 4 ครั้ง
    การแสดงละครเวทีเรื่อง L'Amant
    • K4: นักศึกษาอธิบายหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมสู่บทละครได้
    • S2: นักศึกษาเขียนบทละครที่มาจากการประยุกต์สารัตถะในตัวบทวรรณกรรมที่ศึกษาและหลักการดัดแปลงตัวบทวรรณกรรมได้
    • E1: นักศึกษาสรรค์สร้างผลงานเพื่อจรรโลงสังคม
    • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    40 การแสดงละครเวทีเรื่อง Madame Bovary
    การเข้าชั้นเรียน และ
    การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • E1: นักศึกษาสรรค์สร้างผลงานเพื่อจรรโลงสังคม
    • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
    10
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน กันตพงศ์ จิตต์กล้า. (2562). Chefs d’œuvres de la littérature française. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม กรรณิกา จรรย์แสง. (2545). “วรรณคดีศึกษาเชิงสังคมในบริบทฝรั่งเศส” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ( ธ.ค. 2545-พ.ค. 2546 ) หน้า 11-47
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ชัตสุณี สินธุสิงห์, บรรณาธิการ. (2550). วรรณคดีทัศนา. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา รื่นฤทัย สัจจพันธ์. (2558). ข้ามชาติ ข้ามศาสตร์ ข้ามศิลป์. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Ruth Amossy. (1991). Les idées reçues, sémiologie des stéréotypes. Paris : Nathan.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Régine Robin. (1988). « De la sociologie de la littérature à la sociologie de l'écriture : le projet sociocritique » Littérature, vol. 70, pp. 99-109. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Roland Barthes. (1957). Mythologies. Paris : Points-Essais.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม สิริวรรณ จุฬากรณ์. “ปิแอร์ บูร์ดิเยอ” (Pierre Bourdieu). สรรนิพนธ์มนุษยศึกษาและสังคมศาสตร์ในประเทศฝรั่งเศส ศตวรรษที่ 20, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, หน้า 267-302
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้ ดังนี้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

    3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ