Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา
Mekong Studies
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2559
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS857104
ภาษาไทย
Thai name
ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับลุ่มน้ำโขงศึกษา
ภาษาอังกฤษ
English name
Research Methodology for Mekong Studies
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-2-5)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์ธนนันท์ บุ่นวรรณา
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์ธนนันท์ บุ่นวรรณา
    • อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์หอมหวล บัวระภา
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    • เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
    • สามารถนำแนวคิดไปใช้ศึกษากรณีศึกษาเฉพาะประเทศได้
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      • สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
      • มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ระเบียบวิธีวิจัยและการวิจัยข้ามวัฒนธรรม ประเภท กระบวนการและขั้นตอนการวิจัย วิธีวิทยาในการวิจัยลุ่มน้ำโขง รายงานผลการค้นคว้าประเด็นวิจัยในประเทศลุ่มน้ำโขง
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Research methodology and cross- cultural research, research type, process and steps. The research methodology in Mekong Studies and result of research topics study.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Problem-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 1. แนะนำรายวิชา
      2. ภาพรวมของการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      10
      • K1: มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      1) เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจภาพรวมของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ บรรยายผ่านโปรแกรม Zoom และโปรแกรมต่างๆ ในระบบ KKU e-Learning
      2) อภิปรายแลกเปลี่ยนประเด็นวิจัยในประเทศลุ่มน้ำโขง
      3) แนะนำบทความวิชาการ บทความวิจัยและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
      4) ตอบข้อซักถามของนักศึกษาผ่าน online
      3 3. การเข้าถึงความรู้ ความจริงด้วยกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มิติความสัมพันธ์และมุมมองในการออกแบบการวิจัย
      3.1 การเปลี่ยนแปลงความหมายของอาณาบริเวณ
      3.2 การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและความสัมพันธ์
      3.3 การเปลี่ยนแปลงระบบคุณค่า วัฒนธรรมและอัตลักษณ์
      5
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • S2: สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • S3: สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      • C3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      1) เข้าใจประเด็นการเข้าถึงความจริงด้วยกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ และเข้าใจบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กับความสัมพันธ์ในการกำหนดมุมมองการวิจัยและการออกแบบการวิจัย
      2) ให้นักศึกษาร่วมกันศึกษาค้นคว้าประเด็นวิจัยประเด็นวิจัยในประเทศลุ่มน้ำโขง
      3) ให้นักศึกษาส่งเค้าโครงงานวิจัยและโครงงานที่ได้รับแนะนำเป็น PDF ไฟล์ ผ่านระบบ KKU e-Learning
      4-6 4. ประเด็นการวิจัยในลุ่มน้ำโขงและวิธีวิทยาที่หลากหลาย
      4.1 การวิจัยทางภาษาและวรรณกรรม
      4.2 การวิจัยทางประวัติศาสตร์
      4.3 การวิจัยทางปรัชญา
      และศาสนา
      15
      • K1: มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • K3: สามารถนำแนวคิดไปใช้ศึกษากรณีศึกษาเฉพาะประเทศได้
      • S1: สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • S2: สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • S3: สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      • C3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      1) เข้าใจวิธีวิทยาที่หลากหลายทั้งวิธีวิทยาทางวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ ปรัชญาศาสนา และวิธีวิทยาทางสังคมศาสตร์ผ่าน Video Clips
      2) มอบหมายให้ศึกษาเอกสาร นำเสนอและอภิปรายแลกเปลี่ยน ในระบบ KKU e-Learning
      3) ให้นักศึกษารายงานผลการศึกษาค้นคว้าประเด็นวิจัยในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผ่านโปรแกรม Zoom และโปรแกรมต่างๆ ในระบบ KKU e-Learning
      7-11 5. ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ
      5.1 ความหมายและลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพ
      5.2 ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยปริมาณ
      5.3 แนวคิดพื้นฐานในการวิจัยเชิงคุณภาพ
      5.4 เทคนิควิธีการและเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ
      5.5 ขั้นตอนในการวิจัยเชิงคุณภาพและการเก็บข้อมูลภาคสนาม
      5.6 การผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ
      25
      • K1: มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • K3: สามารถนำแนวคิดไปใช้ศึกษากรณีศึกษาเฉพาะประเทศได้
      • S1: สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • S2: สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • S3: สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      • C1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      • C2: สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
      • C3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      1) เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ
      2) เข้าใจกระบวนทัศน์ในการวิจัย ความหมายและลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพ
      3) เข้าใจแนวคิดพื้นฐานในการวิจัยคุณภาพ ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ
      4) เข้าใจเทคนิควิธีการและเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ
      5) เข้าใจขั้นตอนในการวิจัยเชิงคุณภาพและสามารถผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ
      6) มอบหมายให้ศึกษาปรากฏการณ์จริงในสนาม (field research) หรือการวิจัยจากเอกสาร (documentary research or desk research)
      7) นำเสนอและอภิปรายแลกเปลี่ยนผ่านโปรแกรม Zoom และโปรแกรมต่างๆ ในระบบ KKU e-Learning
      12-14 6. การทำงานสนามและรายงานผลการศึกษาค้นคว้าประเด็นวิจัยในประเทศลุ่มน้ำโขง
      6.1 เลือกตัวอย่างงานวิจัยที่สอดคล้องกับประเด็นความสนใจ
      6.2 กำหนดหัวข้อวิจัย
      6.3 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี
      6.4 ออกแบบการวิจัยและกำหนดแนวทางในการสัมภาษณ์
      15
      • K1: มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • K3: สามารถนำแนวคิดไปใช้ศึกษากรณีศึกษาเฉพาะประเทศได้
      • S1: สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • S2: สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • S3: สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      • C1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      • C2: สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
      • C3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      1) เพื่อให้นักศึกษาเข้าถึงความรู้จากการสำรวจสถานภาพงานวิจัยเฉพาะประเด็นในประเทศลุ่มน้ำโขง
      2) ให้นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าตามประเด็นที่ได้รับมอบหมายผ่านโปรแกรม Zoom และโปรแกรมต่างๆ ในระบบ KKU e-Learning
      3) คณาจารย์ร่วมให้ความเห็นและประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบการวิจัยและระเบียบวิธีวิจัย
      15 7. .สังเคราะห์องค์ความรู้และสรุปแนวทางของระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพสำหรับประเทศลุ่มน้ำโขงศึกษา 5
      • K1: มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • K3: สามารถนำแนวคิดไปใช้ศึกษากรณีศึกษาเฉพาะประเทศได้
      • S1: สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • S2: สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • S3: สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      • C1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      • C2: สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
      • C3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      1) ประมวลความรู้ทิศทางการวิจัยและวิธีวิจัยสำหรับประเทศลุ่มน้ำโขงศึกษาจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
      2) วิพากษ์วิจารณ์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันผ่านโปรแกรม Zoom

      รวมจำนวนชั่วโมง 75 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      1. วัดผลจากงานที่ได้รับมอบหมายตามประเด็น
      • K1: มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • S2: สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • S3: สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      • A1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      • A2: สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
      • A3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      20 สัปดาห์ที่ 3-6 เก็บคะแนนย่อย
      2. ฝึกปฏิบัติทดลองเก็บข้อมูลภาคสนามหรือการวิจัยจากเอกสาร รวมถึงรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
      • K1: มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • K3: สามารถนำแนวคิดไปใช้ศึกษากรณีศึกษาเฉพาะประเทศได้
      • S1: สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • S2: สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • S3: สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      • A1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      • A2: สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
      • A3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      30 สัปดาห์ที่ 7-14
      3. รายงานและการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
      • K1: มีความรู้พื้นฐาน ความเป็นมาของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • K2: เข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรมได้
      • S2: สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
      • S3: สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจบริบททางการศึกษาข้ามวัฒนธรรม
      • A1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      • A2: สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
      • A3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงศึกษา (R3C
      50 สัปดาห์ที่ 7-14
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ชาย โพธิสิตา. (2550). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุภางค์ จันทวานิช. (2559). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ. (2538ก). การพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ : สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา.
      หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ. (2538ข). เครื่องการทำงานแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ : สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา.
      หนังสือ หรือ ตำรา จิตติ มงคลชัยอรัญญา .(2540). การศึกษาชุมชนเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ : เอกสารประกอบการเรียน ภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ. (2536). วิธีการเก็บข้อมูลเพื่อเข้าใจสภาวะและการเปลี่ยนแปลงของชุมชน. คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา ชยันต์ วรรธนะภูติ. (2529). แนวการศึกษาและความเป็นจริงในสังคม : การศึกษาสังคมไทยเชิงมานุษยวิทยา. ใน กนกศักดิ์ แก้วเทพ (บรรณาธิการ). วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา . (2536). การกำหนดรอบคิดในการวิจัย. คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. ขอนแก่น: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา . (2548). เอกสารประกอบการบรรยาย กระบวนวิชา 100722 การวิจัยเชิงคุณภาพ. หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาไทศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548.
      หนังสือ หรือ ตำรา . (2548). เอกสารประกอบการบรรยายประเด็น “การวิจัยทางมานุษยวิทยา : ทัศนะทางทฤษฎี วิธีวิจัยและการสะท้อนความจริง” เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 100722 การวิจัยเชิงคุณภาพ หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาไทศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548
      หนังสือ หรือ ตำรา . (2548). เอกสารประกอบการบรรยายประเด็น “การกำหนดปัญหาในการวิจัย: รูปแบบและการใช้แนวคิดทฤษฎีเพื่อพัฒนากรอบคิดในการวิจัย” เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 100722 การวิจัยเชิงคุณภาพ หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาไทศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548.
      หนังสือ หรือ ตำรา . (2548). เอกสารประกอบการบรรยายประเด็น “การวิจัยภาคประชาชน : แนวคิด ประสบการณ์และบทเรียน” เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 100722 การวิจัยเชิงคุณภาพ หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาไทศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548.
      หนังสือ หรือ ตำรา ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2540).วัฒนธรรมคือทุน. กรุงเทพฯ : บริษัทสุขุมและบุตร จำกัด.
      หนังสือ หรือ ตำรา ธนพรรณ ธานี. (2540). การศึกษาชุมชน. ขอนแก่น: บริษัทเพ็ญพริ้นติ้ง.
      หนังสือ หรือ ตำรา . (2542). การศึกษาชุมชน. ขอนแก่น: ภาควิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา บัณฑร อ่อนดำ และวิริยา น้อยวงศ์. (2533). ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาชนบท: ประสบการณ์ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา ปาริชาติ วลัยเสถียรและคณะ. (2546). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.
      หนังสือ หรือ ตำรา ประเวศ วะสี. (2540). ศักดิ์ศรีแห่งความเป็นคน ศักยภาพแห่งความสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
      หนังสือ หรือ ตำรา พระธรรมปิฎก. (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2539). นิติศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
      หนังสือ หรือ ตำรา มงคล พนมมิตร และชาติชาย รัตนคีรี. (2540). “การวิจัยชุมชน.” ใน เอกสารประกอบโครงการพัฒนาที่สูงไทย – เยอรมัน. เชียงใหม่: สำนักงาน ปปส. ภาคเหนือ.
      หนังสือ หรือ ตำรา ยศ สันตสมบัติ. (2540). มนุษย์กับวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2531). การพัฒนาชนบทไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา สนธยา พลศรี. (2533). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: โอเดี่ยนสโตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2536). สังคมวิทยา : หลักการศึกษา วิเคราะห์และปฏิบัติงานชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2525). การพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2525.
      หนังสือ หรือ ตำรา . (2540). ทฤษฎีและกลยุทธ์การพัฒนาสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุภางค์ จันทวานิช. (2536). “วิธีการเก็บข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ.” ใน คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่องานพัฒนา. ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา อคิน รพีพัฒน์. (2536) “การศึกษาและวิเคราะห์ชุมชนในการวิจัยเชิงคุณภาพ.” ใน คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา อนุชาติ พวงสาลี และ วีรบูรณ์ วิสารทสกุล. (2541). ประชาสังคม คำ ความคิด และความหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
      หนังสือ หรือ ตำรา อมรา พงศาพิชญ์. (2536). “ความหมายของการวิจัยเชิงคุณภาพ.” ใน คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา. ขอนแก่น: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา อรพินท์ สพโชคชัย. (2537). คู่มือการจัดการประชุมเพื่อระดมความคิดในการพัฒนาหมู่บ้าน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
      หนังสือ หรือ ตำรา แอนดรู คอร์นิศ, นันทา สิทธิราช และอาแซ สะยาคะ. (2542). เครื่องมือการศึกษาและการเก็บข้อมูลชุมชนชายฝั่งอย่างเร่งด่วน คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่สนาม และบุคคลทั่วไป. สงขลา: คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา Douglas Schuler. (1996). New Community Networks. Wire for change New York: AMC Press.
      หนังสือ หรือ ตำรา Mark S. Homan. (1994). Promoting Community Change. Pacific Grove, CA: Brooks/Cole Pub.
      หนังสือ หรือ ตำรา Hesselbein, F. et. al. (Eds). (1998). The Dreucker Foundation: The Community of the Future. San Francisco, CA: Jossey Bass.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Hillery, George A. (1998). “Selected Issues in Community Theory.” Rural Sociology. 37(1), 534-552.
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ วารสาร “สังคมลุ่มน้ำโขง” จัดพิมพ์โดยศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (https://so03.tci-thaijo.org/index.php/mekongjournal)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ วารสาร “อารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน” (Mekong-Salween civilization studies). (https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jnuks)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา (http://www.gdrif.org)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ศูนย์แม่โขงศึกษา ภายใต้สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (http://www.mekongchula.com/views/ mekong_index.php?category=aboutus&lang=en&action=category_list)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Academia.edu | Papers in Mekong Studies (http://academia.edu/Papers/in/Mekong_Studies)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Mekong Sub-region Social Research Center (http://www.mssrc.la.ubu.ac.th)
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

      รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559)

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม จรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      1.2 มีการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความรับผิดชอบ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและยอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแต่ละประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
      2.1 มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านลุ่มน้ำโขงศึกษา ในมิติสังคมวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ภาษาและวรรณกรรม ปรัชญาและศาสนา
      2.2 มีความสามารถในการวิจัย คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางด้านสังคมวัฒนธรรมลุ่มน้้ำโขง
      2.3 มีความสามารถในการเพิ่มพูนองค์ความรู้ด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทางาน

      3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
      3.2 สามารถดาเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ

      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีการแสดงออกภาวะผู้นำอย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
      4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้

      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
      5.2 มีความสามารถในการสื่อสารและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อคัดกรองข้อมูลมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ของผู้อื่นได้