รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา
Mekong Studies
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2559
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนะนำวิชา และตกลงการเรียนการสอนการจัดทำรายงาน การประเมินผลโดยสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษา 1.หลักการวิจารณ์หนังสือและตำราเกี่ยวกับประเทศลุ่มน้ำโขง |
3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน (2) บรรยายหลักการทั่วไปเกี่ยวกับการวิจารณ์หนังสือประวัติศาสตร์ประเทศลุ่มน้ำโขงโดยใช้ VDO clip (3) ยกตัวอย่างชิ้นงานที่ผ่านมาซึ่งเป็นผลลัพธ์ของรายวิชาเป็นไฟล์ PDF ให้นักศึกษาเข้าไปดูในระบบ KKU e-Learning (4) งานเดี่ยว/จับคู่ (online) |
|
2-3 | 2.การทบทวนงานวิจัยทางประวัติศาสตร์ : สถานภาพความรู้งานวิจัยทางประวัติศาสตร์ลุ่มน้ำโขง | 6 |
|
1.เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จะให้ตัวอย่างการทบทวนวรรณกรรมเป็น PDF ไฟล์ | |
4-5 |
3. ภูมิหลังของประเทศลุ่มน้ำโขง -สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ และการตั้งถิ่นฐานของคนในลุ่มน้ำโขงยุคก่อนประวัติศาสตร์ |
6 |
|
(1) บรรยายหัวข้อความรู้ภูมิหลังของประเทศลุ่มน้ำโขงโดยใช้ VDO clip และส่งลิ้งค์งานที่เกี่ยวข้องกับประเทศลุ่มน้ำโขงให้นักศึกษาเข้าไปดูในระบบ KKU E-Learning (2) พูดคุยถกเถียงประเด็นเกี่ยวกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขงยุคก่อนประวัติศาสตร์ผ่านโปรแกรม Zoom |
|
6-7 | 4.ติดตามความก้าวหน้าการทบทวนงานวิจัยทางประวัติศาสตร์ (ครั้งที่ 1) | 6 |
|
1.ติดตามความก้าวหน้าของการทบทวนงานวิจัยเกี่ยวกับประเทศลุ่มน้ำโขงผ่านโปรแกรม Zoom นักศึกษานำเสนองานตามลำดับที่ได้รับมอบหมายผ่านระบบ KKU E-learning) 2. การทบทวนงานวิจัยทางประวัติศาสตร์จะสอดคล้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่นักศึกษาเลือกทำ ในส่วนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต้องการฝึกทักษะการจัดหมวดหมู่ข้อมูล รู้จักการตั้งประเด็นตลอดจนรู้จักหลักการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบแก่นักศึกษา 3. เพื่อตอบข้อสงสัยจากการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา (online) |
|
8-9 | 5.พัฒนาการเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศลุ่มน้ำโขง (ก่อนปี 1975) : เวียดนาม ลาว จีน ไทย กัมพูชา เมียนม่า | 6 |
|
(1) บรรยายหัวข้อพัฒนาการเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศลุ่มน้ำโขง (ก่อนปี 1975) : เวียดนาม ลาว จีน ไทย กัมพูชา เมียนม่าโดยใช้ VDO clip และส่งลิ้งค์งานที่เกี่ยวข้องกับประเทศลุ่มน้ำโขงให้นักศึกษาเข้าไปดูในระบบ KKU E-Learning (2) พูดคุยถกเถียงประเด็นเกี่ยวกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขงยุคก่อนปี ค.ศ. 1975 ผ่านโปรแกรม Zoom |
|
10-11 | 6.พัฒนาการเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศลุ่มน้ำโขง (หลังปี 1975) : เวียดนาม ลาว จีน ไทย กัมพูชา เมียนม่า | 6 |
|
(1) บรรยายหัวข้อพัฒนาการเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศลุ่มน้ำโขง (หลังปี 1975) : เวียดนาม ลาว จีน ไทย กัมพูชา เมียนม่าโดยใช้ VDO clip และส่งลิ้งค์งานที่เกี่ยวข้องกับประเทศลุ่มน้ำโขงให้นักศึกษาเข้าไปดูในระบบ KKU E-Learning (2) พูดคุยถกเถียงประเด็นเกี่ยวกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขงยุคหลังปี ค.ศ. 1975 ผ่านโปรแกรม Zoom |
|
12-13 | 7.ติดตามความก้าวหน้าการทบทวนงานวิจัยทางประวัติศาสตร์ (ครั้งที่ 2) | 6 |
|
1.ติดตามความก้าวหน้าของการทบทวนงานวิจัยเกี่ยวกับประเทศลุ่มน้ำโขงผ่านโปรแกรม Zoom นักศึกษานำเสนองานตามลำดับที่ได้รับมอบหมายผ่านระบบ KKU E-learning) 2. การทบทวนงานวิจัยทางประวัติศาสตร์จะสอดคล้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่นักศึกษาเลือกทำ ในส่วนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต้องการฝึกทักษะการจัดหมวดหมู่ข้อมูล รู้จักการตั้งประเด็นตลอดจนรู้จักหลักการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบแก่นักศึกษา 3. นักศึกษาส่งรายงานที่ได้รับข้อเสนอแนะจากอาจารย์เป็น PDF ไฟล์และรอรับการคืนงานจากอาจารย์ผ่านระบบ KKU E-Learning 4. เพื่อตรวจสอบการอ้างอิงทางวิชาการที่ถูกต้องตามหลักวิชาชีพ (online) 5. ตอบข้อสงสัยของนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom |
|
14-15 | 8 สรุป : ภาพรวมของการศึกษารายวิชา400731และผลลัพธ์ | 6 |
|
1.สรุปผลการจัดการเรียนการสอนเป็น VDO Clip 2. ส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เป็น PDF ไฟล์ ผ่านระบบ KKU E-learning) เพื่อประเมินผลการศึกษา 3.แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ผ่านโปรแกรม Zoom |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
วิเคราะห์หนังสือ/ตำราทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขง |
|
30 | สัปดาห์ที่ 3 |
รายงานการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางประวัติศาสตร์ลุ่มน้ำโขงและการนำเสนอ |
|
60 | สัปดาห์สุดท้ายของการจัดการเรียนการสอนและส่งงาน online |
กิจกรรมและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
10 | สัปดาห์ฝึกปฏิบัติติดตามความก้าวหน้า |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
โจเซฟ บัตตินเจอร์.(2522).ประวัติศาสตร์การเมืองเวียดนาม. (เพ็ชรี สุมิตร,ผู้แปล). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช (ชิลค์เวอร์มบุคส์). (อ่านบทที่ 4-5) |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และอานันท์ กาญจนพันธ์(บรรณาธิการ,ผู้แปล). (2549).ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เล่ม 1.กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เชิดเกียรติ อัตถากร. (2536). ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และนโยบายต่างประเทศของเวียดนาม ภายหลังการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์ครั้งที่6(ค.ศ.1986).วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เชิดเกียรติ อัตถากร. (2540). ขบวนการคอมมิวนิสต์เวียดนาม. กรุงเทพ ฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ธนนันท์ บุ่นวรรณา. (2553). เหงวียน ถิ มินห์ คาย : วีรสตรีนักปฏิวัติเวียดนาม (ค.ศ.1910-1941).วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, ธรรมศาสตร์. 5, (3), 33-62. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธิดา สาระยา. (2535). อาณาจักรเจนละ : ประวัติศาสตร์โบราณ. กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พูมี วงวิจิต.(2550). ในความทรงจำของพูมี วงวิจิต. (พิษณุ จันทร์วิทัน,ผู้แปล).กรุงเทพฯ: ดับเบิลเอ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
มิลตัน ออสบอร์น. (2544). เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สังเขปประวัติศาสตร์. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์ ตรัสวิน มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์.(บทที่ 36,37,38,39) |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ยอร์ช เซเดส์. (2546). ชนชาติต่างๆ ในแหลมอินโดจีน. (ปัญญา บริสุทธิ์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | โยชิยูริ มาซูฮารา. (2546). ราชอาณาจักรลาวล้านช้าง. กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
โรเบิร์ต เอช. เทย์เลอร์ . (2550). รัฐในพม่า. (พรรณงาม เง่าธรรมสารและคณะ,ผู้แปล). กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์เรือนแก้ว (อ่านบทที่ 1) |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ศิลปากร,กรม. (2542). การสำรวจโบราณสถานในอาณาจักรจัมปา. (Recherches sur lesMonuments du Champa.) ( นันทพร บรรลือสินธุ์,ผู้แปล). กรุงเทพฯ : บริษัทเซเว่นพริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ศุขปรีดา พนมยงค์. (2549). โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มิ่งมิตร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุด จอนเจิดสิน. (2544). ประวัติศาสตร์เวียดนามตั้งแต่สมัยอาณานิคมถึงปัจจุบัน, กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุเนด โพธิสานและ หนูไช พูมมะจัน.(2000). ประวัติศาสตร์ลาว(ดึกดำบรรพ์-ปัจจุบัน). เวียงจันทน์: โรงพิมพ์แห่งรัฐ. (ภาษาลาว) |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุเนตร โพธิสาร. (2551). ประวัติศาสตร์ลาว (ดึกดำบรรพ์-ปัจจุบัน),(ทรงคุณ จันทจร,ผู้แปล).สถาบันวิจัยศิลปะและ วัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.(ภาคที่ 8-17) |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภัทรดิศ ดิศกุล,ม.จ. (2522). ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุวิทย์ ธีรศาศวัต.(2543).ประวัติศาสตร์ลาว 1779-1975.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.(บทที่ 7,8,9,10,16) | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | แอนโทนี รีด. (2548). เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคการค้า 1450-1680. (พงษ์ศรี เลขะวัฒนะ ,ผู้แปล) .กรุงเทพฯ :สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ฮอลล์ ดี.จี.อี.(2552). ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เล่ม 2.(วรุณยุพา สนิทวงศ์ และคณะ,ผู้แปล). | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธีระ นุชเปี่ยม.(2554). “การเมืองใหม่”ในเวียดนาม?. วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ .33 (),181-204. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | David Joel Steinberg .(Ed.) . (1985). In Search of Southeast Asia : A Modern History. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Evans,Grant.(1993). Asia’s Cultural Mosaic. Singapore : Prentice Hall. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Higham, Charles. (1989). The Archaeology of Mainland Southeast Asia. Cambridge: Cambridge University Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Higham, Charles. (2002) Early Cultures of Mainland Southeast Asia. Bangkok : River Books. Honolulu, University of Hawaii Press. (อ่านภาคที่ 1) |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Nicholas Tarling. (Ed.). (1992). The Cambridge History of Southeast Asia. 2 vols, Cambridge | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Rawson, Philip. (1993). The Art of Southeast Asia. Singapore : Thame and Hudson. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Stuart-Fox, Martin. (1997). A History of Laos. Cambridge University Press. (Chapter 2,3) | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | University Press, Cambridge. (อ่านเล่ม 1) | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | http://www2.mcot.net/fm965/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | http://www.cormosea.org/programs.html#net | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | www.lib.washington.edu/southeastasia/vsg/index.html | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | http://www.mekonginstitute.org/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Journal of Southeast Asian Studies | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Journal of Asian Studies | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Kasetsart Journal – Social Sciences | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Journal of Mon-Khmer Studies | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Manusya Journal | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | วารสาร Southeast Asian Languages and Cultures |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม จรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
1.2 มีการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความรับผิดชอบ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและยอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแต่ละประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านลุ่มน้ำโขงศึกษา ในมิติสังคมวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ภาษาและวรรณกรรม ปรัชญาและศาสนา
2.2 มีความสามารถในการวิจัย คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางด้านสังคมวัฒนธรรมลุ่มน้้ำโขง
2.3 มีความสามารถในการเพิ่มพูนองค์ความรู้ด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทางาน
3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถดาเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีการแสดงออกภาวะผู้นำอย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการสื่อสารและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อคัดกรองข้อมูลมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ของผู้อื่นได้