Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS471995
ภาษาไทย
Thai name
สัมมนาทางการบริหารและการจัดการภาวะวิกฤต
ภาษาอังกฤษ
English name
Seminar on Crisis Administration and Management
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์
    • รองศาสตราจารย์สุกัญญา เอมอิ่มธรรม
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์และการบริหารภาวะวิกฤติ ผลกระทบของภาวะวิกฤติต่อสังคมและมาตรการเยียวยา บทบาทของรัฐบาลในการจัดการภาวะวิกฤติ การเมืองกับการบริหารภาวะวิกฤติ นโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการภาวะวิกฤติ ผู้นำและการตัดสินใจ เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน การจัดการความขัดแย้ง ความร่วมมือระหว่างประเทศในการจัดการภาวะวิกฤติ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Concept and theory related to crisis analysis and management, impacts of crisis in society and remedial measures, roles of government in crisis management, politics and the administration of crisis, policy and strategies for crisis management, leadership and decision - making, information technology, communication and coordination, conflict resolution, international cooperation in crisis management
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Case discussion
      • Seminar
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 - แนะนำเนื้อหาวิชา วัตถุประสงค์ของวิชา และการประเมินผล
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) พบนักศึกษาผ่านเพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและวัตถุประสงค์ของการเรียน
      2) บรรยายเนื้อหาและนำเข้าสู่บทเรียน โดยให้นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้
      3) มอบหมายงานประจำวิชา พร้อมกับสร้างข้อตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน

      2-3 - แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์และการบริหารภาวะวิกฤติ 6
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) การบรรยายทฤษฎีในในการวิเคราะห์และการบริหารภาวะวิกฤติโดยผ่านโปรแกรม Google Meet หรือ Zoom
      2) นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้
      3) ให้นักศึกษาฝึกการคิดวิเคราะห์โดยการกำหนดประเด็น/กรณีศึกษา และร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน
      4-5 - การเมืองกับการบริหารภาวะวิกฤติ
      - บทบาทของรัฐบาลในการจัดการภาวะวิกฤติ

      6
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) การบรรยายในชั้นเรียน ในหัวข้อการเมืองกับการบริหารภาวะวิกฤติ บทบาทของรัฐบาลในภาวะวิกฤตและแนวทางการบริหารจัดการ
      2) กำหนดประเด็นให้นักศึกษาร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้
      2) นักศึกษานำเสนอกรณีศึกษาจากบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง และร่วมกันวิเคราะห์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
      6-7 - การวิเคราะห์ผลกระทบของภาวะวิกฤติ
      - การถอดบทเรียนมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤต


      6
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) การบรรยายในหัวข้อการวิเคราะห์ผลกระทบของภาวะวิกฤติและมาตรการเยียวยา
      2) นักศึกษาร่วมกันกำหนดประเด็น และร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน
      3) ให้นักศึกษาร่วมกันถอดบทเรียนจากการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีองค์กรและความสำคัญของการจัดการทุนมนุษย์ พร้อมนำเสนอและอภิปรายร่วมกัน

      8 - นโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการภาวะวิกฤติ


      3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) การบรรยายทฤษฎีในชั้นเรียน ในหัวข้อนโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการภาวะวิกฤติ
      2) มอบหมายกรณีศึกษาจากทั้งในและต่างประเทศเพื่อให้นักศึกษานำเสนอร่วมกับการอภิปราย
      9 - ผู้นำและการตัดสินใจในภาวะวิกฤต 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายภาคทฤษฎีหัวข้อผู้นำและการตัดสินใจในภาวะวิกฤต ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Google Meets
      2) ให้นักศึกษาฝึกการคิดวิเคราะห์โดยกำหนดประเด็น และอภิปรายในชั้นเรียนร่วมกัน

      10 - เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสารและการประสานงานในภาวะวิกฤต 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายภาคทฤษฎีหัวข้อเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสารและการประสานงานในภาวะวิกฤตผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Google Hangout Meets
      2) ให้นักศึกษาฝึกการคิดวิเคราะห์โดยกำหนดประเด็นในชั้นเรียนร่วมกันและเข้าไปแสดงความเห็นตามประเด็นที่กำหนดใน ใน Discussion Forum ของ KKU E-learning
      3) นักศึกษาสรุปบทเรียนส่งทาง KKU E-Learning
      11 - การจัดการความขัดแย้งในภาวะวิกฤต 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) การบรรยายทฤษฎีในชั้นเรียน ในหัวข้อการจัดการความขัดแย้งในภาวะวิกฤต
      2) นักศึกษานำเสนอกรณีศึกษาจากทั้งในและต่างประเทศจากบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง และร่วมกันวิเคราะห์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
      12 - ความร่วมมือระหว่างประเทศในการจัดการภาวะวิกฤติ 3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) การบรรยายทฤษฎีในชั้นเรียน ในหัวข้อความร่วมมือระหว่างประเทศในการจัดการภาวะวิกฤติ
      2) กำหนดกรณีศึกษาให้นักศึกษาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียนและถอดบทเรียนจากกรณีศึกษา
      3) นักศึกษาสรุปบทเรียนส่งทาง ส่งทาง KKU E-Learning
      13-14 - ประเด็นร่วมสมัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการภาวะวิกฤต
      - มอบหมายงานให้ศึกษาด้วยตนเองนอกชั้นเรียน


      6
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) ผู้สอนและนักศึกษานำเสนอประเด็นร่วมสมัยหรือกรณีศึกษาที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการจัดการภาวะวิกฤตทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      2) นักศึกษาดูชุดภาพยนตร์สารคดีสั้นเรื่อง Rotten และร่วมกันอภิปรายตามประเด็นที่ผู้สอนกำหนดพร้อมถอดบทเรียนที่ได้จากการอภิปราย
      3) มอบหมายงานในการทำรายงานกลุ่มและเตรียมนำเสนอในชั้นเรียน

      15 - การนำเสนอรายงานและสรุปบทเรียน


      3
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • C1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      1) นักศึกษานำเสนอรายงานประจำวิชาหน้าชั้นเรียน พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในชั้นเรียน
      2) นักศึกษาส่งรายงาน ประจำวิชาหลังจากนำเสนอหน้าชั้น

      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน และใน Discussion Forum

      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • A2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      30
      งานเดี่ยวตามที่มอบหมาย

      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • A2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      20
      รายงานกลุ่มและการนำเสนอ
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • A2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      30
      การเข้าเรียน
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • A2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      5
      การสอบวัดผล
      • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต เข้าใจทฤษฎี กระบวนการ และมาตรการเยียวยาภาวะวิกฤตขององค์การโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วิจัยเชิงวิชาการ
      • S1: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆเกี่ยวกับการการบริหารและจัดการภาวะวิกฤต สามารถเปรียบเทียบนโยบายและการจัดการภาวะวิกฤตระดับชาติและนานาชาติได้
      • S2: เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างเหมาะสม
      • A1: เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบในการทำงานด้วยตนเองและการทำงานกับผู้อื่น
      • A2: เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการภาวะวิกฤตในการบริหารจัดการองค์กร และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ
      15 สอบแบบ Take Home

      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา สมิทธิ์ บุญชุติมา . (2560). การสื่อสารในภาวะวิกฤติ. กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี. อาจารย์ภายนอกคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา Coombs, W. T. (2012). Ongoing crisis communication: Planning, managing, and responding (3rd ed.). Thousand Oaks, CA: SAGE Publications. อาจารย์ภายนอกคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา Fink, S.(1986). Crisis management: Planning for the inevitable. New York: AMACOM อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Glaesser, Dirk. (2003). Crisis Management in Tourism Industry. Amsterdam: Butterworth-Heinemann อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Hurst, David K. (1995). Crisis and Renewal: meeting the challenge of organization change. Boston, MA: Harward Business School Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Lagadec, P. (1993). Preventing chaos in a crisis. London: McGraw-Hill. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Lewis, Gerald W. (2006). Organization Crisis Management: the human factors. Boca Raton: Auerbach Publications. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Mitroff, I. I., and Pearson, C.M. (1993). Crisis management: A diagnostic guide for improving your organization’s crisis-preparedness. San-Francisco: Jossey-Bass. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Nudell, M., and Antokol, N. (1988). The handbook for effective emergency and crisis management. Lexington, MA: Lexington Books. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Robert, Albert R.(ed.). (2005). Crisis Intervention Handbook: assessment, treatment, and Research. Oxford: Oxford University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา St. John, Burton. (2017). Crisis Communication and Crisis Management: an ethical practice. Los Angeles, CA: SAGE Publications. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี.(2552). การบริหารวิกฤติการณ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี. 2,1 (ธันวาคม 2552 - พฤษภาคม 2553): 41 -54. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชาตรี ปรีดาอนันทสุข.(2555).เปลี่ยนมุมมองของการจัดการวิกฤตด้วยแนวคิดการจัดการวิกฤตเชิงบูรณาการ. วารสารการบริหารธุรกิจเศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร. 8,1 (ต.ค. 2555 – มี.ค.2556): 27 – 38. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Coombs, W. Timothy. (2013). Applied Crisis Communication and Crisis Management: Cases and Exercises. Sage Publications, Inc. USA. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Cuomo, Andrew. (2020). American Crisis: Leadership Lessons from the Covid-19 Pandemic. Crown Publications. USA. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      e-Learning KKU e-Learning: HSXXXXXX Seminar on Crisis Administration and Management
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทยhttps://www.tci-thaijo.org/ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ฐานข้อมูลวารสาร SCOPUS https://www.scimagojr.com/journalsearch.php อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)