รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนะนำรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น 1. ความรู้เกี่ยวกับภาษา 1.1 ความหมาย 1.2 ความสำคัญ 1.3 ประเภทและลักษณะ 1.4 องค์ประกอบ |
3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่าน Zoom meeting เพื่อชี้แจงเรื่องการเรียนการสอน แนะนำรายวิชา ประมวลรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ ตลอดจนการตกลงร่วมกันกับนักศึกษาเรื่องการประเมินผลการเรียน (2) บรรยาย online ผ่านโปรแกรม Zoom meeting หัวข้อ “ความหมาย ความสำคัญ หน้าที่ของ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา” (3) นักศึกษาอภิปรายร่วมกันใน Forum หัวข้อ “ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา” (4) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบ บทที่ 1 "ความรู้เกี่ยวกับภาษา" ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
2-3 |
2. ภาษากับปัจจัยทางสังคม (ภาษากับสังคม) 2.1 การศึกษา เพศ อายุ สถานะทางสังคม วัฒนธรรม ฯลฯ กับการใช้ภาษา 2.2 การเปลี่ยนแปลงภาษาในสังคมไทย 2.3 ทำเนียบภาษาของภาษาไทย 2.4 ภาษาและความหลากหลายของภาษา |
6 |
|
(1) บรรยาย online ผ่าน Zoom meeting หัวข้อ “ภาษากับสังคมไทย” (2) ร่วมกันอภิปราย ปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อการใช้ภาษาไทย (3) นักศึกษาทบทวนเพื่อสรุปบทเรียนในเอกสารประกอบการสอน “บทที่ 2 ภาษากับสังคมไทย ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
4 |
3. ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดกับภาษาเขียน 3.1 ลักษณะของภาษาพูด 3.2 ลักษณะของภาษาเขียน 3.3 สถานการณ์การสื่อสารของภาษาพูดกับภาษาเขียน |
3 |
|
(1) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 3 “ภาษาพูดกับภาษาเขียน” (ไฟล์ pdf) (2) บรรยาย online ผ่านโปรแกรม Zoom meeting หัวข้อ “3.1 ลักษณะของภาษาพูด ลักษณะของภาษาเขียน และสถานการณ์การสื่อสารของภาษาพูดกับภาษาเขียน” (3) ร่วมกันอภิปราย ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดกับภาษาเขียน (4) นักศึกษาทำแบบทดสอบ ในgoogle form ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
5-6 |
4. ภาษาข่าว 4.1 ลักษณะภาษาของข่าวในสื่อประเภทต่าง ๆ เช่น ในสื่อสิ่งพิมพ์ โทรทัศน์ สื่อสังคมออนไลน์ ฯลฯ 4.2 ลักษณะภาษาของข่าวประเภทต่าง ๆ เช่น ข่าวการเมือง การเศรษฐกิจ กีฬา บันเทิง ฯลฯ |
6 |
|
(1) มอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 4 “ภาษาข่าว” (ไฟล์ pdf) (2) สนทนาซักถามกับนักศึกษาเกี่ยวกับการใช้ภาษาข่าวในสื่อประเภทต่างๆ (3) มอบหมายงานใน Assignment วิเคราะห์ภาษาข่าวประเภทต่าง ๆ (4) ส่งงานทาง online ในไลน์กลุ่ม (5) นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาในชั้นเรียนผ่านระบบ Zoom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
7-8 |
5. ภาษาโฆษณาในสื่อประเภทต่าง ๆ 5.1 องค์ประกอบ 5.2การใช้คำ ประโยค 5.3 การใช้สัญลักษณ์ 5.4 การสื่อความหมาย |
6 |
|
(1) มอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 5 “ภาษาโฆษณา” (ไฟล์ pdf) (2) สนทนาซักถามกับนักศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบและการใช้ภาษาโฆษณาในสื่อประเภทต่าง ๆ (3) มอบหมายงานใน Assignment วิเคราะห์ภาษาโฆษณาในสื่อประเภทประเภทต่าง ๆ (4) ส่งงานทาง online ในไลน์กลุ่ม (5) นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาในชั้นเรียนผ่านระบบ Zoom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
9-10 |
6. การใช้ภาษาในสื่อสังคมออนไลน์ 6.1 วัตถุประสงค์และสถานการณ์การใช้ภาษาในสื่อสังคมออนไลน์ 6.2 ลักษณะภาษาในสื่อสังคมออนไลน์ ประเภทต่าง เช่น อีเมล แชต เว็บบอร์ด ยูทูป เฟซบุ๊ก อินสตาแกรม เป็นต้น |
6 |
|
(1) มอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 6 “ภาษาในสื่อสังคมออนไลน์ ” (ไฟล์ pdf) (2) สนทนาซักถามกับนักศึกษาเกี่ยวกับภาษาในสื่อสังคมออนไลน์ (3) มอบหมายงานใน Assignment วิเคราะห์ภาษาในสื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ (4) ส่งงานทาง online ในไลน์กลุ่ม (5) นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาในชั้นเรียนผ่านระบบ Zoom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
11-12 |
7. ภาษาไทยในงานวิชาการ (บทความ รายงานวิชาการ ตำรา ) 7.1 ประเภทและองค์ประกอบงานวิชาการ 7.2 ลักษณะภาษาในงานวิชาการ |
6 |
|
(1) มอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 “ในงานวิชาการ ” (ไฟล์ pdf) (2) อภิปราย ลักษณะภาษาและความสำคัญของงานวิชาการ (3) ทำแบบฝึกหัดผ่านระบบ google form ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
13-14 |
8. ภาษาไทยกับการสื่อสารทางธุรกิจ 8.1 ความหมายความสำคัญ วัตถุประสงค์ของการประกอบธุรกิจ 8.2 ภาษาพูดและภาษาเขียนในการสื่อสารทางธุรกิจในบริบทต่าง ๆ |
6 |
|
(1) มอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 8 “ภาษาไทยกับการสื่อสารทางธุรกิจ ” (ไฟล์ pdf) (2) สนทนาซักถามกับนักศึกษาเกี่ยวกับภาษาไทยกับการสื่อสารทางธุรกิจ (3) มอบหมายงานใน Assignment วิเคราะห์ภาษากับการสื่อสารทางธุรกิจประเภทต่างๆ (4) ส่งงานทาง online ในไลน์กลุ่ม (5) นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาในชั้นเรียนผ่านระบบ Zoom ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
15 |
9. การสัมผัสภาษาและการปนภาษาในสังคมไทย 9.1 การสัมผัสภาษาในสังคมไทย 9.2 การปนภาษาและการสลับภาษาในสังคมไทย 9.3 การยืมภาษา |
3 |
|
(1) มอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่9 “การสัมผัสภาษาและการปนภาษาในสังคมไทย” (ไฟล์ pdf) (2) อภิปราย เรื่อง การสัมผัสภาษาและการปนภาษาอังกฤษในสังคมไทย (3) ทำแบบฝึกหัดผ่านระบบ google form ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วม |
|
10 | |
แบบฝึกหัดทาง online งานกลุ่ม |
|
70 | สัปดาห์ที่ 2-15 |
การสอบปลายภาค |
|
20 |
Online e-Testing สัปดาห์ที่ 16 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
กาญจนา แก้วเทพ. (2547). การศึกษาสื่อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชัน จำกัด (มหาชน). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2563). ภาษากับการสื่อสารมวลชน. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เอกสารอัดสำเนา. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2544). การวิเคราะห์ภาษาในนิตยสารสำหรับวัยรุ่น. มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 19, 1 (ตุลาคม-ธันวาคม) : 40-45. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
______. (2541). เก็บเกี่ยวภาษาจากงานประชาสัมพันธ์ทางสื่อสิ่งพิมพ์. ใน ภาควิชาภาษาไทย. ถ้อยคิดถ้อยเขียน. (หน้า 113-123). หนังสือที่ระลึกในโอกาสครบ 20 ปี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
______. (2538). โฆษณา : ภาษาที่คุณสัมผัสได้. ใน ภาควิชาภาษาไทย. พระเกี้ยวทองคำ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.(หน้า 85-92). หนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับพระราชทานพระเกี้ยวทองคำ ปี 2537. กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
______. (2536, 2537). นิตยสาร : ภาษาของคนรุ่นใหม่. มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 11, 2 (พฤศจิกายน-เมษายน) : 52-61. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | ______. (2536). จูงใจฤาไขข่าว. มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 11, 1 (พฤศจิกายน-ตุลาคม) : 40-49. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
______. (2535, 2536). ภาษาโทรทัศน์สรรค์สร้างอารมณ์และจินตนาการ. มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 10, 2 (พฤศจิกายน-เมษายน) : 13-24. |
||
YouTube | หัวข้อ “เกศทิพย์” ตำนานละครวิทยุเมืองไทย (https://www.youtube.com/watch?v=LT-Qfl6z2-A) | ||
เอกสารประกอบการสอน | ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2564). ภาษากับการสื่อสาร. เอกสารประกอบการสอน. สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | อาจารย์ภายในคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ