รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
ความหมายและขอบข่ายมานุษยวิทยาของมานุษยวิทยาประยุกต์ |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google classroom ชี้แจงและแจกแผนการสอน อธิบายวิธีการสอน เนื้อหาที่สอน เอกสารตำราและสื่อประกอบการสอน การประมวลผลรายวิชา การส่งงานผ่านระบบออนไลน์และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา 2) การบรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับขอบข่ายมานุษยวิทยา ประยุกต์ 3) ให้นักศึกษาจับคู่อภิปรายความแตกต่างของมานุษยวิทยาและมานุษยวิทยาประยุกต์ 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
|
3-4 |
การประยุกต์ใช้วิธีการ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางมานุษยวิทยา |
6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1) มอบหมายให้นักศึกษาทบทวนความรู้ทางมานุษยวิทยาวัฒนธรรมที่เรียนมา(ล่วงหน้า)เพื่อนำมาอธิบายปรากฎการณ์จากตัวอย่างสื่อที่ให้ชม ให้นักศึกษาชมสื่อกี่ยวกับตัวอย่างการประยุกต์ใช้ความรู้ หลักการทางมานุษยวิทยาในการแก้ปัญหาผ่านโปรแกรม Google classroom 2) ให้นักศึกษาจับคู่เพื่ออธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหาจากตัวอย่างที่ชม 3) วัดความเข้าใจจากนำเสนอของนักศึกษา 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
|
5 |
จรรยาบรรณและพัฒนาการในเรื่องจรรยาบรรณของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ |
3 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับวิวัฒนาการของมนุษย์และเชื้อชาติ ผ่านโปรแกรม Google classroom 2) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
|
6-7 | จรรยาบรรณและพัฒนาการในเรื่องจรรยาบรรณของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ | 6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับตัวอย่างการทำความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรม ผ่านโปรแกรม Google classroom 2) มอบหมายให้นักศึกษาจับคู่ศึกษาตัวอย่างการทำงานของนักมานูษยวิทยาในการแก้ปัญหา เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ จรรยาบรรณในการทำงานของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ 3) วัดความเข้าใจจากการที่นักศึกษนำเสนอและอภิปราย 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
|
8-9 | การวิจัยเชิงประยุกต์กับการทำงานของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ | 6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1) บรรยายโดยใช้ ppt. ผ่านโปรแกรม Google classroom และให้ชมสื่อเกี่ยวกับการใช้การวิจัยประยุกต์ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหา 2) ให้นักศึกษาจับคู่ค้นคว้าเอกสารทำรายงานเกี่ยวกับการวิจัยประยุกต์ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหา 3) วัดความเข้าใจจากตัวอย่างในการศึกษา 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
|
10-11 | บทบาทของนักมานุษยวิทยาประยุกต์มนุษย์ในการทำงานเพื่อแก้ปัญหา | 6 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับบทบาทของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ ผ่านโปรแกรม Google classroom 2) มอบหมายให้จับกลุ่มค้นคว้า เพื่อทำรายงานเกี่ยวกับบทบาทของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ 3) วัดความเข้าใจจากการนำเสนอและการทำรายงาน 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
|
12-14 |
การทำงานด้านต่างๆของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ |
9 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับการทำงาน ด้านต่างๆของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ ผ่านโปรแกรม Google classroom 2) มอบหมายให้นักศึกษาทำรายงานเกี่ยวกับการทำงานด้านต่างๆของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ 3) วัดความเข้าใจจากการนำเสนอและทำรายงาน 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
|
15 | มานุษยวิทยากับการเข้าสู่วิชาชีพ | 3 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน 1) บรรยายโดยใช้ ppt. ผ่านโปรแกรม Google classroom 2) วัดความเข้าใจจากการทำแบบฝึกหัด 3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
สอบกลางภาค |
|
25 | ตามปฏิทินมหาวิทยาลัยกำหนด |
สอบปลายภาค |
|
25 | ตามปฏิทินมหาวิทยาลัยกำหนด |
รายงาน ค้นคว้าทฤษฎี - การประยุกต์ใช้หลักการ แนวคิด ทฤษฎี วิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา - จรรยาบรรณของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ - บทบาทของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ - การทำงานด้านต่างๆและการใช้การวิจัยเชิงประยุกต์ของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ในการทำงาน |
|
50 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
สมใจ ศรีหล้า.2560. เอกสารประกอบการสอน วิชา 415 228 มานุษยวิทยาประยุกต์ บทที่1. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
www.sac.or.th หัวข้อ มานุษยวิทยากับการทำงานด้านต่างๆ |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
www.lc.mahidol.ac.th/th/ หัวข้อ โครงการจัดการศึกษาแบบทวิต่างๆ ของสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมแห่งอาเซียน |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | https://www.youtube.com/watch?reload=9&v=TUQdHJEBY7M หัวข้อ การประยุกต์ใช้แนวคิด เทคนิควิธีการทางมานุษยวิทยาในการแก้ไขปัญหา | ||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม | ครรชิต พุทโกษา. 2554. คู่มือการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : ส านักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาต | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | จุมพล พูลภัทรชีวิน. 2559. การวิจัยเชิงอนาคต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | ฐานิดา บุญวรรโณ. “จริยธรรมในชาติพันธุ์วรรณนา: จอร์จ กองโดมินาสกับบทเรียนจาก พวกเรากินป่า” ว.เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์ ปีที4 ฉบับบทึ่7 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558) 133-148 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | นฤพล ด้วงวิเศษ. ม.ป.ป. การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จาก http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/29\ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | มานุษยวิทยาปฏิบัติการ. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2557, จาก http://e-book. Ram .edu/e- book/ htm Anthropology News. January 2006 vol 47 no. 1, book online | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | สฤษดิ์ สืบพงษ์ศิริ. (2560). บทบาทของงานนิติโบราณคดีและนิติมานุษยวิทยาในการสืบสวนอาชญากรรม , วิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยต ารวจ, 3(1). 23-37. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | สัญญา สัญญาวิวัฒน์. 2551. "สังคมวิทยาในประเทศไทย" ใน 60 ปี รัฐศาสตร์ จุฬาฯ, ประทุมพร วัชร เสถียร (บก.). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Danis Alexandra. 2012 แปลและสรุปใจความโดยชีวสิทธิ์ บุญเกียรติ . การบรรยาย 15: วิธีการและเครื่องมือทางมานุษยวิทยาเบื้องต้นที่ใช้ใน การศึกษามรดกทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรไท้ | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Ervin, Alexander M. 2005. Applied Anthropology: Tools and Perspectives for Contemporary Practice .New York.Pearson Education Inc. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Van Willigen, John . 2002. Applied Anthropology ; An Introuction.Third Ediion. Wesport. Bergin and Garvey. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Ferraro, Garry. 2008. Cultural Anthropology. Seventh Edition. United State. Thomson Wordsworth. Griffith, David, Jeffrey C. Johnson, Jeanne Simonelli, Bill Roberts, and James Wallace eds. “Mission statement”. Society for Applied Anthropology, 2008. Retrieved on 3 February 2008 from http://www.sfaa.net/ |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Harris, Marwin and Orna, Johnson. 2003. Cultural Anthropology. Sixth edition. New York. Pearson Education Inc. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Raymond, Scupin and Christopher R. Decorse. 2001.Anthropology :A Glibal Perspective New Jersey. Prentice Hall. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Sillitoe, Paul. The search for Relevance: A brief History of Applied Anthropology. “History and Anthropology”, vol. 17, 1 (March 2006)1-19. The Mc-Graw-Hill Companies-Inc.,2008. Applied Anthropology U.S.A . The Mc-Graw-Hill Companies-Inc., |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ไท้ นนทจันทร์.2542. มานุษยวิทยาประยุกต์. กรุงเทพฯ บริษัทรวมสาส์น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ณรงค์ เส็งประชา.2541. มานุษยวิทยาประยุกต์ในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | นิยะพรรณ วรรณะศิริ.2540. มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม.พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปาริชาติ วลัยเสถียร.2543.กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | มหาวิทยาลัยขอนแก่น.คณะเกษตรศาสตร์.โครงการวิจัยระบบการทำฟาร์ม.2530. คู่มือการประเมิณสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน. ขอนแก่น.โครงการวิจัยระบบการทำฟาร์ม คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Ervin, Alexander M. 2005. Applied Anthropology: Tools and Perspectives for Contemporary Practice. New York.Pearson Education Inc. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Van Willigen, John .2002. Applied Anthropology ; An Introuction.Third Ediion. Wesport CT. Bergin and Garvey. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ