1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
|
หัวข้อการสอน
Teaching topics
|
จํานวน ชั่วโมง
Number of hours
|
CLO
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
1-3 |
1. Introduction to the course
1.1 Overview of the course is presented (course objectives, contents, and evaluation) and 1.2 Learning outcomes are explained
2. Technology in language teaching and learning
2.1 Technology-enhanced Language Learning (TELL) and Computer-assisted Language Learning (CALL)
2.2 TELL principles
2.3 Benefits and drawbacks
2.4 Successful learners –learning styles
2.5 Collaborative and individual learning –formal and informal learning, group working online, and co-operative learning,
2.6 Assessment –e-Portfolio, tests, self-assessment, classroom voting system, peer assessment
2.7 Support –system, tutor’s role
2.8 Program (software, pages, environments) evaluation
|
9 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation and meaningful goals) เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้มีความเชี่ยวชาญในสาชาวิชาที่ศึกษา (Knowledge and expertise)
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
1. Presentation
1.1 A course syllabus is presented to the students.
1.2 Background of the use of technology in language teaching and learning is presented to the students.
2. Practice
2.1 Benefits and drawbacks of TELL at global and local levels are discussed in groups and whole class.
2.2 Ways of learning via TELL are shared while a teacher facilitates and monitors students.
3. Production
3.1 Reflections of the lessons and the final word are given.
Teaching materials
1. Course books and textbooks
2. Presentations
3. Task sheets
Teaching channels
1. Teams or Zoom
2. Google Classroom
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
3-5 |
3. Essential skills for learners
3.1 Traditional skills –notes, reading, writing, self-assessment, research skills, f2f group skills, reflection, listening
3.2 Computer skills –file management, formats, compression, and transfer, Accessibility options, information backup, tracking changes, searching and quality, presentation skills, copyright and plagiarism
3.3 TELL skills –Time management, self-assessment, problem solving, researching skills, coping with stress and maintaining learning motivation
3.4 Communication skills –synchronous/Asynchronous communication, Email styles, mailgroups and newsgroups, forum, thread discussion
4. Learning resources and environments
4.1 Synchronous/Asynchronous learning
4.2 Managed Learning Environment (MLE) or Course Management System (CMS)
4.3 Virtual Learning Environment (VLE) or Learning Management System (LMS)
4.4 WWW, Intranets/Extranets
4.5 Blended learning
|
9 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
- E1: นักศึกษาตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนภาษา โดยมีมารยาทในการใช้เทคโนโลยีและสื่อแบบไม่ละเมิดและคุกคามผู้อื่น
- E2: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และให้ความร่วมมือร่วมใจ รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ เพื่อประโยชน์ของสมาชิกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้น
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Learning process and learning outcome responsibility awareness)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation and meaningful goals) เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้มีความเชี่ยวชาญในสาชาวิชาที่ศึกษา (Knowledge and expertise)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy) โดยมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อช่วยในการจัดการจัดการเรียนรู้ (Digital literacy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Practical application) และมีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน (Work ethics) ในบริบทต่างๆ และที่มีการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้ (Cross cultural communication)
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
1. Presentation stage
1.1 Different skills are presented and discussed.
1.2 Samples of each skill are shown and explored.
2. Practice stage
2.1 Students discuss necessary skills for a particular learning resources and environments.
2.2 Students are evaluate required skills for in group.
3. Production stage
3.1 Students reflect the required skills for TELL course in different contexts.
3.2 A lecturer summarises main lessons and key takeaway messages.
Teaching materials
1. Course books and textbooks
2. Presentations
3. Task sheets
Teaching channels
1. Teams or Zoom
2. Google Classroom
|
6-9 |
5. Design and development of a technology-enhanced language learning course
5.1 Concerns for TELL program development
5.2 Pedagogical concerns for classroom practice
5.3 Learning and working styles
5.5 Copyright and plagiarism
5.7 Feedback and support
5.8 Safety online
|
12 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
- E1: นักศึกษาตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนภาษา โดยมีมารยาทในการใช้เทคโนโลยีและสื่อแบบไม่ละเมิดและคุกคามผู้อื่น
- E2: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และให้ความร่วมมือร่วมใจ รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ เพื่อประโยชน์ของสมาชิกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้น
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Learning process and learning outcome responsibility awareness)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation and meaningful goals) เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้มีความเชี่ยวชาญในสาชาวิชาที่ศึกษา (Knowledge and expertise)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy) โดยมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อช่วยในการจัดการจัดการเรียนรู้ (Digital literacy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Practical application) และมีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน (Work ethics) ในบริบทต่างๆ และที่มีการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้ (Cross cultural communication)
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
1. Presentation
1.1 Concerns and stages for TELL development are shown to students.
1.2 Examples of learning resources and environments are provided and discussed.
2. Practice
2.1 Students work in group to develop a learning resource or environment.
2.2 Students apply necessary concerns to the resource and environment development process. 2.3 Suggestions and comments are given by a teacher.
3. Production
3.1 Final learning resource or environment is presented to class.
2.2 Suggestions and comments are shared by everyone.
Teaching materials
1. Course books and textbooks
2. Presentations
3. Task sheets
Teaching channels
1. Teams or Zoom
2. Google Classroom
|
10-11 |
6. Program and software evaluation
6.1 Commercial software and applications
6.2 Roles of commercial publishers
6.3 Evaluating software
6.4 Criteria –one size fits all?
6.5 Evaluation practice
|
6 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
- E1: นักศึกษาตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนภาษา โดยมีมารยาทในการใช้เทคโนโลยีและสื่อแบบไม่ละเมิดและคุกคามผู้อื่น
- E2: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และให้ความร่วมมือร่วมใจ รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ เพื่อประโยชน์ของสมาชิกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้น
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Learning process and learning outcome responsibility awareness)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation and meaningful goals) เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้มีความเชี่ยวชาญในสาชาวิชาที่ศึกษา (Knowledge and expertise)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy) โดยมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อช่วยในการจัดการจัดการเรียนรู้ (Digital literacy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Practical application) และมีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน (Work ethics) ในบริบทต่างๆ และที่มีการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้ (Cross cultural communication)
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
1. Presentation stage
1.1 Samples of commercial software and applications are shown.
1.2 Evaluation and criteria of learning resources and environments are shared and discussed.
2. Practice stage
2.1 Find interesting learning resource or environment.
2.2 Evaluate that finding in group.
2.3 Summarize pros and cons of that resource or environment.
3. Production stage
3.1 Reflections on the evaluation of chosen resource or environment are shared with class.
3.2 Summaries and comments are shared from the teacher.
Teaching materials
1. Course books and textbooks
2. Presentations
3. Task sheets
Teaching channels
1. Teams or Zoom
2. Google Classroom
|
12-16 |
7. Issues and trends
7.1 Distance learning and online learning
7.2 Learner autonomy in TELL
7.3 Natural Language Processing (NLP) in CALL and TELL
7.4 Digital games and language learning
7.5 Roles of technology in teaching and learning writing
7.6 Language learning in virtual worlds
7.7 Massive Open Online Course (MOOC) for language learning
7.8 Artificial intelligence (AI) in language teaching and learning
|
12 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
- E1: นักศึกษาตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนภาษา โดยมีมารยาทในการใช้เทคโนโลยีและสื่อแบบไม่ละเมิดและคุกคามผู้อื่น
- E2: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และให้ความร่วมมือร่วมใจ รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ เพื่อประโยชน์ของสมาชิกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้น
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Learning process and learning outcome responsibility awareness)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation and meaningful goals) เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้มีความเชี่ยวชาญในสาชาวิชาที่ศึกษา (Knowledge and expertise)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy) โดยมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อช่วยในการจัดการจัดการเรียนรู้ (Digital literacy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Practical application) และมีคุณธรรมจริยธรรมในการทำงาน (Work ethics) ในบริบทต่างๆ และที่มีการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางได้ (Cross cultural communication)
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
1. Presentation
1.1 Issues and trends of TELL are presented and discussed.
2. Practice
2.1 Students are to select the aspect to further investigate in group.
3. Production
3.1 Students present their learning aspects from responsible issues to class.
3.2 Students should point out the application of those trends at global and local levels.
Teaching materials
1. Course books and textbooks
2. Presentations
3. Task sheets
Teaching channels
1. Teams or Zoom
2. Google Classroom
|
รวมจำนวนชั่วโมง
|
48 |
0 |
|
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
|
CLO
|
สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
|
หมายเหตุ
Note
|
1. Class attendance
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
5 |
|
2. Classroom tasks and assignments
งานเดี่ยว
งานกลุ่ม |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
|
20 |
|
3. Project: Learning material design
งานกลุ่ม |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
|
20 |
|
4. Project: Lesson plans
งานกลุ่ม |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
|
20 |
|
5. Project: Presentation
งานกลุ่ม |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
|
25 |
|
6. Project: Reflection
งานกลุ่ม |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลัการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา เข้าใจกรอบแนวคิดวิธีการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษา การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยผ่านการกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบสามารถเขียนและพูดนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีได้
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนโดยสามารอธิบายปรากฏการณ์วิธีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทางในหลากหลายบริบทด้วยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ นักศึกษามีความรู้ชัดแจ้งและแบบฝังลึก (Tacit Knowledge) โดยผ่านการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่และเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของตนเองอันก่อให้เกิดความเชื่อ ทักษะ และมุมมองของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีในหลากหลายบริบท ได้อย่างอย่างชำนาญและลึกซึ้ง
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนจากกรณีศึกษาการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างหลากหลาย สามารถนำประสบการณ์ตรงของตนเองจากการเรียนผ่านวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี และสามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้แบบฝังลึกในลักษณะขความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้เฉพาะ (Personalized learning) ของวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในบริบทต่างๆ วิเคราะห์ความท้าทายและนำเสนอทางออกของการใช้วิธีการวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี นำเสนอแนวทางการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีเป็นระบบ
- S1: นักศึกษามีทักษะความตระหนักเกี่ยวกับโลกและท้องถิ่น (Global and local awareness) เกี่ยวกับปรากฏการณ์การเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีทั้งบริบทโลกและบริบทไทย
- S2: นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking ) เน้นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองประเด็นด้านการเรียนการสอนภาษาโดยใช้เทคโนโลยีจากหลากหลายบริบท โดยการศึกษาข้อมูลและหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ
- S3: นักศึกษามีทักษะการประเมินและการตัดสินใจ (Judgment and decision-making) เกี่ยวกับซอฟต์แวร์และเว็บไซต์ในการเรียนการสอนภาษาต่างๆ โดยมีกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้พิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการสอนการเรียนภาษาโดยใช้เทคโนโลยี
- S4: นักศึกษามีทักษะการทำงานแบบร่วมมือ (Collaborative skills) กับสมาชิกที่มีทักษะความสามารถที่หลากหลายต่างกันแต่มีเป้าหมายและความเป็นผู้นำร่วมกัน (Leadership skills) สามารถแบ่งปันภาระงาน (Job allocation skills) ตามความสามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ (Problem solving skills) มีการประสานข้อคิดเห็นสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องต้องกันเพื่อทำให้เป้าหมายสำเร็จ
|
10 |
K1, K2, K3, K4
S1, S2, S3, S4
A1, A2, A3, A4
|
สัดส่วนคะแนนรวม
|
100
|
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
|
รายละเอียด
Description
|
ประเภทผู้แต่ง
Author
|
ไฟล์
File
|
เอกสารประกอบการสอน |
Srikrai (2021). Technology-enhanced Language Learning. English Program: Khon Kaen University. |
อาจารย์ภายในคณะ |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
White, C. (2003). Language Learning in Distance Education. Hong Kong: Pearson Education |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Thomas, M., Peterson, M., & Warschauer, M. (2013). Advances in Digital Language Learning and Teaching. Bloomsbury Publishing
|
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Stanley, G. (2013). Language Learning with Technology : Ideas for Integrating Technology in the Classroom. Cambridge University Press |
|
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Walker, A. & White, G. (2013). Technology Enhanced Language Learning : Connecting theory and practice. Oxford University Press |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Gruba, P. (2004). Computer Assisted Language Learning (CALL). In Davies, A., Elder, C. (Eds). The Handbook of Applied Linguistics. Blackwell Publishing. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Levy, M, & Stockwell, G. (2006). CALL Dimensions: Options and Issues in Computer-assisted language learning. Routledge |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 |
1.2 |
1.3 |
1.4 |
1.5 |
2.1 |
2.2 |
2.3 |
2.4 |
3.1 |
3.2 |
3.3 |
3.4 |
4.1 |
4.2 |
4.3 |
4.4 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก
2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน
3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ