รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | แนะนำรายวิชา ข้อตกลงและเงื่อนไขรายวิชาเบื้องต้น และช่องทางการเรียนและการสื่อสาร | 3 |
|
ชี้แจงรายละเอียดและทำความตกลงเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอน รวมถึงการประเมินผล Google Classroom |
|
2 |
- แนะนำหลักการแปลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - อภิปรายวัตถุประสงค์ของการแปลเนื้อหาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งจากอังกฤษเป็นไทย และจากไทยเป็นอังกฤษ |
3 |
|
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน บทวิจัย หรือบทความวิชาการ หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Google Classroom |
|
3 - 6 |
- วิเคราะห์ลักษณะของงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น หน่วยวัดค่าต่างๆ/คำศัพท์ทั่วไปที่ปรากฏบ่อยในงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/ตัวย่อที่มักพบในงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/คำศัพท์เฉพาะที่มักพบในงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านต่างๆ/การสืบค้นข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น - ฝึกแปลงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ |
12 |
|
- ผู้สอนบรรยายหลักการแปลเบื้องต้น - นักศึกษาเรียนรู้หลักการแปลเบื้องต้น พร้อมทั้งทำแบบฝึกหัดการแปลทั้งจากภาษาอังกฤษเป็นไทย และจากภาษาไทยเป็นอังกฤษ ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Google Classroom |
|
7 - 8 |
- วิเคราะห์ลักษณะเด่นของงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - หน่วยวัดค่าต่างๆ - คำศัพท์ทั่วไปที่ปรากฏบ่อยในงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ตัวย่อที่มักพบในงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - คำศัพท์เฉพาะที่มักพบในงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านต่างๆ - การสืบค้นข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
6 |
|
- ผู้สอนแนะนำและนักศึกษาระดมความคิดร่วมกัน และอภิปรายบทวิเคราะห์ลักษณะเด่นต่างๆของงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ผู้สอนเปิดโอกาสให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีต่างๆในการค้นคว้าหาข้อมูลความรู้เพิ่มเติมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยแนะนำแนวทางการหาแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือและหลากหลาย ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ในห้องเรียน Google Classroom |
|
9 - 14 |
- ฝึกแปลงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย - นำเสนอความคืบหน้าโครงงานแปล |
18 |
|
- นักศึกษาฝึกฝนทักษะการแปลงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดยผู้สอนเตรียมแบบฝึกหัดการแปลให้นักศึกษา แล้วสะท้อนผลให้กับนักศึกษาเป็นรายบุคคล หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในห้องเรียน Google Classroom |
|
15 | นำเสนอโครงงานแปลฉบับสมบูรณ์ | 3 |
|
- นักศึกษาฝึกฝนทักษะการแปลงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ โดยผู้สอนเตรียมแบบฝึกหัดการแปลให้นักศึกษา แล้วสะท้อนผลให้กับนักศึกษาเป็นรายบุคคล บทวิจัย หรือบทความวิชาการ บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล หนังสือ หรือ ตำรา ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ในห้องเรียน Google Classroom |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม Class participation |
|
10 | |
แบบฝึกการแปล 5 ชิ้น งานเดี่ยว Exercises |
|
25 | แบบฝึกหัดแปล ทั้งจากภาษาอังกฤษเป็นไทย และจากภาษาไทยเป็นอังกฤษ |
โครงงานแปล งานกลุ่ม Translation project |
|
30 | โครงงานคู่ |
สอบย่อย Quizzes |
|
15 | สอบย่อย 2 ครั้ง การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ และการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย |
การสอบปลายภาค Final examination |
|
20 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
เอกสารประกอบการสอน | ศิรายุ โพธิ์วันนา. (2563). เอกสารประกอบการสอนวิชา HS113407 การแปลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พิมพันธุ์ เวสสะโกศล. การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2558. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุพรรณี ปิ่นมณี. (2552). แปลได้ แปลดี: ทักษะการแปลสำหรับผู้เรียนในระดับมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | วิษณุ ประกอบงาม. (2548). การแปลตามหลักภาษาศาสตร์. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 1.5 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 3.4 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก
2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน
3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ