รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา
Mekong Studies
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2559
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | แนะนำรายวิชาและทีมผู้สอน และบรรยายลักษณะและความสำคัญของแนวคิดและทฤษฎีร่วมสมัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ต่อการศึกษาสังคมและวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านระบบออนไลน์ แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา (2) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
2 | พหุนิยมวัฒนธรรม | 3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
3 | โลภาภิวัตน์กับบริโภคนิยม | 3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
4 | ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม | 3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
5-6 | อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ธำรง และชาตินิยม | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
7 | ความทรงจำทางสังคมและพื้นที่ทางสังคมในการศึกษาชาติพันธุ์ | 3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
8-9 | วัฒนธรรมประชานิยม/วัฒนธรรมสาธารณะ | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
10-11 | เพศสภาพ เพศวิถี และการแต่งงานข้ามชาติ | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
12-13 | ทฤษฎีเชิงวิพากษ์กับการศึกษาลุ่มน้ำโขง | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
14 | พิธีกรรม พื้นที่ และปฏิบัติการ | 3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อภิปรายร่วมกับผู้เรียน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
15 |
- การนำเสนอรายงานของนักศึกษา - สรุป |
3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) นักศึกษานำเสนอรายงาน ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) การถาม-ตอบโดยอาจารย์และนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม (4) อาจารย์และผู้เรียนสรุปประเด็นหรือสาระสำคัญที่ได้เรียนรู้ในวิชาร่วมกัน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การสอบกลางภาค |
|
30 | นัดหมายนอกตารางมข.30 |
การสอบปลายภาค |
|
30 | ตามตารางมข.30 |
รายงานการนำเสนอรายงาน |
|
30 | ตลอดภาคการศึกษา |
การนำเสนอรายงาน |
|
10 | ตลอดภาคการศึกษา |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวานิช. (2554). ทฤษฎีสังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2551). รายงานการวิจัยพหุวัฒนธรรมในบริบทของการเปลี่ยนผ่านทางสังคมและวัฒนธรรม.เชียงใหม่: ศูนย์ภูมิภาคทางสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน, คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Elliott, Anthony. (2010). The Routledge Companion to Social Theory. London: Routledge. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ. (2547). “ทบทวนแนวทางการศึกษาชาติพันธุ์ข้ามยุคสมัยกับการศึกษาสังคมไทย”. ว่าด้วยแนวทางการศึกษาชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ฐิรวุฒิ เสนาคำ. (2547). “อรชุน อัปปาดูรัย กับมโนทัศน์ท้องถิ่นข้ามท้องถิ่น (Translocalities)”. รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 25 ฉบับที่ 1, หน้า 103-149. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธีรยุทธ บุญมี. (2546). พหุนิยม. กรุงเทพฯ: ไทเกอร์ พรินติ้ง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธีรยุทธ บุญมี. (2546). ชาตินิยมและหลังชาตินิยม. กรุงเทพฯ: สายธาร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2545). ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพิเศษ ว่าด้วย "เพศ" ความคิด ตัวตน และอคติทางเพศ ผู้หญิง เกย์ เพศศึกษา และกามารมณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | พัฒนา กิตติอาสา. (2546). ท้องถิ่นนิยม (Localism). กรุงเทพฯ: กองทุนอินทร์-สมเพื่อการวิจัยทางมานุษยวิทยา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พิเชษฐ์ สายพันธ์. (2547). “การแปลงผ่านอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม”. ความเป็นไทย ความเป็นไท. หน้า 95-136. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ยศ สันตสมบัติ. (2543). หลักช้าง: การสร้างใหม่ของอัตลักษณ์ไตในใต้คง. กรุงเทพฯ: โครงการวิถีทรรศน์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุเทพ สุนทรเภสัช. (2548). ชาติพันธุ์สัมพันธ์ : แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยาในการศึกษาอัตลักษณ์ กลุ่มชาติพันธุ์ ประชาชาติ และการจัดองค์กรสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โบราณคดี. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2552). รัฐฉาน (เมืองไต) พลวัตของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และสังคม การเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อมรา พงศาพิชญ์. 2545. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม: วิธีวิทยาและบทบาทในประชาสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Banks, Marcus. (1996). Ethnicity: Anthropological Constructions. London and New York: Routledge. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Eriksen, Thomas Hylland. (2002). Ethnicity and Nationalism. 2nd edition. London: Pluto Press. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Keyes, Charles F. (2006). “The People of Asia”—Science and Politics in the Classification of Ethnic Groups in Thailand, China and Vietnam,” In On the Margins of Asia: Diversity in Asian States. Pp. 89-131. Ann Arbor, Michigan: Association for Asian Studies Inc. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
Naila Kabeer. (1999). Reversed realities: gender hierarchies in development thought (ควรอ่านในบท preface)และบทที่ 4 ใน Connecting, Extending, Reversing: Development from a Gender Perspective. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Pinkaew Laungaramsri. (2003). Ethnicity and the Politics of Ethnic Classification in Thailand. In Ethnicity in Asia. Colin Mackerras, ed. Pp. 157-173. London & New York: RoutledgeCurzon. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
วารสาร “สังคมลุ่มน้ำโขง” ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | วารสาร “สังคมศาสตร์” มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | วารสาร “สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | วารสาร “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์” มหาวิทยาลัยขอนแก่น | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | วารสาร “มานุษยวิทยา” ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | วารสาร “พื้นถิ่นโขง ชี มูล” มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
วารสาร “อารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน” (Mekong-Salween civilization studies) (http://www.gotoknow.org/blogs/posts/419569) |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
ศูนย์แม่โขงศึกษา ภายใต้สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (http://www.mekongchula.com/views/mekong_index.php?category=aboutus&lang=en&action=category_list) |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Academia.edu | Papers in Mekong Studies (http://academia.edu/Papers/in/Mekong_Studies) | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | The Mekong Sub-region Social Research Center (http://www.mssrc.la.ubu.ac.th) |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม จรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
1.2 มีการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความรับผิดชอบ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและยอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแต่ละประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านลุ่มน้ำโขงศึกษา ในมิติสังคมวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ภาษาและวรรณกรรม ปรัชญาและศาสนา
2.2 มีความสามารถในการวิจัย คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางด้านสังคมวัฒนธรรมลุ่มน้้ำโขง
2.3 มีความสามารถในการเพิ่มพูนองค์ความรู้ด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการทางาน
3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถดาเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีการแสดงออกภาวะผู้นำอย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการสื่อสารและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อคัดกรองข้อมูลมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ของผู้อื่นได้