Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS612105
ภาษาไทย
Thai name
การรู้เท่าทันสื่อ
ภาษาอังกฤษ
English name
MEDIA LITERACY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลี ปรีชาปัญญากุล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลี ปรีชาปัญญากุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • นักศึกษามีความเข้าใจในการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาเรียนรู้และใช้สื่อในทางที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายใคร
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการเปิดรับสื่อที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการอ่าน การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริงและภาพตัวแทนในการสื่อสารประเภทต่าง ๆ
    • นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ แยกแยะ ประเมินค่า การสื่อสารประเภทต่าง ๆ ได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า และความแตกต่างทางวัฒนธรรม รวมทั้งเคารพในความแตกต่างของแต่ละบุคคล
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การเปิดรับสื่อ การเลือกจดจำ แนวทางการอ่าน วิเคราะห์ ประเมิน และสื่อสารเนื้อหา การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริง และภาพตัวแทน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Media exposure, selective retention, guidelines for reading, analysis, evaluation, and content communication; meaning construction, construction of reality and representation
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-3 ชี้แจงรายละเอียดวิชาวิธีการเรียน และเกริ่นนำเนื้อหา
    1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    1.1 สื่อสิ่งพิมพ์
    1.2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์
    1.3 สื่อออนไลน์
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้และใช้สื่อในทางที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายใคร
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    บรรยายเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ พร้อมนำเสนอกรณีศึกษา และให้วิเคราะห์ร่วมกัน
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องเรียน
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    4-6 2. แนวคิดเรื่องการเปิดรับสื่อ
    2.1 การเลือกเปิดรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
    2.2 การเลือกข้อมูลข่าวสารตามความสนใจ
    2.3 การเลือกรับรู้และตีความหมายของข่าวสาร
    2.4 การเลือกจดจำจากข้อมูลข่าวสารที่ได้เปิดรับ

    9
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการเปิดรับสื่อที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า และความแตกต่างทางวัฒนธรรม รวมทั้งเคารพในความแตกต่างของแต่ละบุคคล
    บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับแนวคิดในการเปิดรับสื่อ พร้อมให้นักศึกษารับสื่อประเภทต่าง ๆ และเนื้อหาที่หลากหลาย จากสื่อสิ่งพิมพ์ ยูทูปหรือสื่อโซเชียลมีเดีย พร้อมกับให้อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    7-9 3. แนวคิดในการสื่อสารเนื้อหาในสื่อ
    3.1 การประกอบสร้างความหมาย
    3.2 การประกอบสร้างความจริง
    3.3 ภาพตัวแทน
    9
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการเปิดรับสื่อที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการอ่าน การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริงและภาพตัวแทนในการสื่อสารประเภทต่าง ๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้และใช้สื่อในทางที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายใคร
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า และความแตกต่างทางวัฒนธรรม รวมทั้งเคารพในความแตกต่างของแต่ละบุคคล
    นักศึกษามีทักษะวิเคราะห์การสื่อสารของสื่อ การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริงและภาพตัวแทน ด้วยการฝึกอ่าน วิเคราะห์และตีความหมายการสื่อสารของสื่อต่าง ๆ โดยการใช้เนื้อความหรือตัวบทจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อออนไลน์ ฝึกวิเคราะห์ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
    10-15 4. วิเคราะห์ แยกแยะ ประเมินค่า การสื่อสารประเภทต่าง ๆ ได้
    4.1 การสื่อสารในสื่อสิ่งพิมพ์
    4.2 การสื่อสารในสื่ออิเล็กทรอนิกส์
    4.3 การสื่อสารในสื่อออนไลน์


    18
    • K1: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการเปิดรับสื่อที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการอ่าน การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริงและภาพตัวแทนในการสื่อสารประเภทต่าง ๆ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ แยกแยะ ประเมินค่า การสื่อสารประเภทต่าง ๆ ได้
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้และใช้สื่อในทางที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายใคร
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า และความแตกต่างทางวัฒนธรรม รวมทั้งเคารพในความแตกต่างของแต่ละบุคคล
    นักศึกษาวิเคราะห์ แยกแยะ และประเมินค่าสารจากสื่อประเภทต่าง ๆ ได้ด้วยความรู้เท่าทัน โดยฝึกวิเคราะห์ แยกแยะและประเมินค่าสารจากสื่อประเภทต่าง ๆ พร้อมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    แบบฝึกปฏิบัติ, งานที่มอบหมายให้ทำ
    อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    งานกลุ่ม
    งานเดี่ยว
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการอ่าน การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริงและภาพตัวแทนในการสื่อสารประเภทต่าง ๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้และใช้สื่อในทางที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายใคร
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    30 สัปดาห์ที่ 7, 10
    การนำเสนอรายงานหน้าชั้น พร้อมตอบคำถาม
    งานเดี่ยว
    งานเดี่ยว
    • K1: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการเปิดรับสื่อที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการอ่าน การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริงและภาพตัวแทนในการสื่อสารประเภทต่าง ๆ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ แยกแยะ ประเมินค่า การสื่อสารประเภทต่าง ๆ ได้
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้และใช้สื่อในทางที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายใคร
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า และความแตกต่างทางวัฒนธรรม รวมทั้งเคารพในความแตกต่างของแต่ละบุคคล
    20 สัปดาห์ที่ 11-13
    สอบกลางภาค

    • K1: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการอ่าน การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริงและภาพตัวแทนในการสื่อสารประเภทต่าง ๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้และใช้สื่อในทางที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายใคร
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    20 สัปดาห์ที่ 8
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในการสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการเปิดรับสื่อที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการอ่าน การประกอบสร้างความหมาย การประกอบสร้างความจริงและภาพตัวแทนในการสื่อสารประเภทต่าง ๆ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ แยกแยะ ประเมินค่า การสื่อสารประเภทต่าง ๆ ได้
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้และใช้สื่อในทางที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายใคร
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    30 สัปดาห์ที่ 16
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา พรทิพย์ เย็นจะบก.(2552). ถอดรหัส ลับความคิดเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ: คู่มือการเรียนรู้เท่าทันสื่อ.
    กรุงเทพมหานคร: ออฟเซ็ทครีเอชั่น.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล และคณะ. (2549). เปิดประตูสู่การรู้เท่าทันสื่อ. นนทบุรี : โครงการสื่อสร้างสรรค์สุขภาพ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Mac Quail, D. (1994). Mass Communication Theory. 3rd ed. London: Sage.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Potter, W. J. (1998) . Media Literacy. London : Sage.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Silverblatt, A (1995) . Media Literacy: Keys to Interpreting Media Message. USA : Praeger.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Schramm, Wilbur ed. (1960). The Process and effects of Mass Communication. Urbana, Ill.:
    University of Illinois Press.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.kosanathai.com
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.siamzone.com/movie
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.thairath.co.th
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube www.youtube.com
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Silverblatt. (1995). Media Literacy: Keys to Interpreting Media Messages. PhD, is professor of communications and journalism at Webster University, St. Louis, MO, and vice president of Gateway Media Literacy Partners (GMLP), a regional media literacy consortium. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Facebook has become popular with the elderly. (2019). https://gmlive.com/facebook-becoming-social-media-dominated-by-elderlies. Acquired, 20 April 2019.
    News that was tricked through Facebook media. https://news.ch7.com/detail/305682. Acquired, 21 April 2019.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Bate, J., (2007). Theory of media literacy : A cognitive approach. California : Sage Publication. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    • เพิ่มเนื้อหาในส่วนของสื่อใหม่ให้มากขึ้นเพื่อให้ทันกับสถานการณ์การสื่อสารในปัจจุบัน และลดในส่วนของสื่อสิ่งพิมพ์ลง ตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาในภาคการศึกษาที่ผ่านมา
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ