Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423301
ภาษาไทย
Thai name
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ภาษาอังกฤษ
English name
HUMAN RESOURCE DEVELOPMENT
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    ทักษะ
    Skills
    • ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความเป็นมนุษย์และชีวิตในทัศนะทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ แนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรมนุษย์กับองค์กรและชุมชน การวิเคราะห์และการวางแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การศึกษานอกสถานที่
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Humanism and life according to science, social sciences, and humanity perspectives, concepts and theories of human resources and development, relationships among human resources, organizations, and community, analysis and planning of human resource development for economic and social development, field study
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Task-based learning
    • Project-based learning
    • Case discussion
    • Seminar
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 1. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    1.1 แนวคิดพื้นฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    1.2 ความหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    1.3 กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    1.4 ภารกิจและหน้าที่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    1.5 แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    1.3 มิติการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    1.4 เป้าประสงค์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    1.5 ความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point
    3-4 2. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์
    2.1 ความหมายของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์
    2.2 ความสำคัญของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์
    2.3 แนวคิดพื้นฐานการวางแผนกลยุทธ์
    2.4 ประโยชน์ของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์
    2.5 กระบวนการในการวางแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    2.6 การประเมินทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน
    2.7 เทคนิคและวิธีการคาดการณ์ทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ
    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, หนังสือพิมพ์, website และ Power point
    5-6 3. การกำหนดความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    3.1 แนวคิดพื้นฐานการหาความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    3.2 ความหมายของการจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    3.3 สาเหตุของความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    3.4 ประเภทของความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    3.5 เทคนิควิธีการหาความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    3.6 เทคนิคการวิเคราะห์ความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point
    7 4. กลยุทธ์และการประยุกต์ใช้กลยุทธ์
    4.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกลยุทธ์
    4.2 กลยุทธ์ระดับฝ่าย
    4.3 กลยุทธ์ระดับองค์กร
    3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point
    8-9 5 .แนวทางต่าง ๆ ในการพัฒนากรทรัพยากรมนุษย์
    5.1 การฝึกอบรม
    5.2การให้การศึกษา
    5.3 การพัฒนา
    5.4 การเรียนรู้
    5.5 องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้
    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point
    10 6. กระบวนการฝึกอบรม
    6.1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการฝึกอบรมและการพัฒนา
    6.2 กระบวนการฝึกอบรวมและการพัฒนา
    - การสำรวจหาความจำเป็นในการฝึกอบรมและพัฒนา
    - การกำหนดวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงและชัดเจน
    - การดำเนินการฝึกอบรม
    6.3 การคัดเลือกผู้ฝึกอบรมและวิทยากร
    6.4 ประโยชน์การฝึกอบรม
    6.5 ปัญหาที่พบในการฝึกอบรมและพัฒนา
    3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point
    11 7. เทคนิคและเครื่องมือในการฝึกอบรม
    7.1 ความหมายของเทคนิคการฝึกอบรม
    7.2 แนวคิดการออกแบบและการเลือกใช้เทคนิคการฝึกอบรม
    7.3 การแบ่งประเภทเทคนิคการฝึกอบรม
    7.4 เทคนิคการฝึกอบรมโดยการลงมือปฏิบัติ
    7.5 เทคนิคการฝึกอบรมโดยการไม่ลงมือปฏิบัติ
    7.6 ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกเทคนิคการฝึกอบรม
    3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point
    12 8. กระบวนการสรรหาว่างจ้างพนักงาน
    8.1 การกำหนดรายละเอียดของตำแหน่งงาน
    8.2 การสรรหาผู้สมัครที่มีศักยภาพ
    8.3 การสัมภาษณ์ผู้สมัครงาน
    8.4 การประเมินผู้สมัครงาน
    8.5 การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการว่าง จ้างอย่างต่อเนื่อง
    3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point
    13 9. การรักษาบุคลากรชั้นยอด
    9.1 ความสำคัญของการรักษาบุคลากร
    9.2 ความท้าทายของการรักษาบุคลากรที่มีความแตกต่างกัน
    9.3 สาเหตุการลาออกจากงาน
    9.4 วิธีการบริหารเพื่อรักษาบุคลากรให้คงอยู่กับองค์การ
    3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - การบรรยายโดยผู้สอน
    - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน
    - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point
    14-15 10. การนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนของนักศึกษา 6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    - กำหนดให้นักศึกษาเลือกศึกษาองค์การใดองค์องค์การหนึ่งที่เห็นว่ามีการบริหารจัดการเป็นเลิศ
    ( Best Practices) ทางด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตามหัวข้อที่มีการกำหนดให้ไปศึกษา แล้วมานำเสนอในชั้นเรียน พร้อมทั้งจัดทำเป็นรายงานรูปเล่ม
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    สอบปลายภาค
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    45
    รายงานเดี่ยว 2 ชิ้น
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    15
    รายงานกลุ่มและการนำเสนอในชั้นเรียน
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    35
    การเข้าชั้นเรียน
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจถึงขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • K2: ผู้เรียนสามารถอธิบายและประยุกต์ใช้การวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้
    • S1: ผู้เรียนมีทักษะสามารถวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    • E1: ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยในตนเอง
    • C1: ผู้เรียนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การได้
    5
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา กีรติ ยศยง. (2548). การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์.กรุงเทพฯ:มิสเตอร์ก็อปปี้. อาจารย์ภายนอกคณะ
    เอกสารประกอบการสอน พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2557). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 415 335 สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.(2547).กรณีศึกษาBest Practices การมุ่งเน้นที่ทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพฯ:เรดเฟิ์รน ครีเอชั่น.
    อาจารย์ภายนอกคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา โสภณ ภูเก้าล้วน และ ฐิติวรรณ สินธุ์นอก. (2557). การบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับผู้จัดการในสายงานในทศวรรษหน้า. กรุงเทพฯ : แปลน พริ้นติ้ง จำกัด.
    อาจารย์ภายนอกคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา วิชัย โถสุวรรณจินดา.(2551).การบริหารทรัพยากรมนุษย์(พิมพ์ครั้งที่4).กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โฟรเพซ. อาจารย์ภายนอกคณะ
    เอกสารประกอบการสอน ชาญชัย อาจินสมาจาร.(ไม่ระบุปีพิมพ์).การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.เอกสารประกอบการบรรยาย. อาจารย์ภายนอกคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา ธัญญา ผลอนันต์.(2546). Human Resources Form: A Guide to Create Employee Satisfaction.กรุงเทพฯ:อินโนกราฟฟิกส์. อาจารย์ภายนอกคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา Dessler,gary .(2549).กรอบความคิดสำหรับการจัดการทรัพยากรมนุษย์. เกื้อจิตร ชีระกาญจน์ และคณะ(แปล). กรุงเทพฯ:เพียร์สัน เอ็นดูเคชั่น.
    อาจารย์ภายนอกคณะ
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ