รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน ประเมินผล และข้อตกลงเบื้องต้น บทที่ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม - ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ ขอบเขต รูปแบบ หลักการทั่วไปของสวัสดิการสังคมและหลักการของสวัสดิการสังคมไทย บทที่ 2 : งานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์ - งานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์ - ความแตกต่างของงานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคมและงานสังคมสงเคราะห์ |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน - แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน ประเมินผล และข้อตกลงเบื้องต้น บทที่ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม บรรยาย เรื่องความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ ขอบเขต รูปแบบ หลักการทั่วไปของสวัสดิการสังคมและหลักการของสวัสดิการสังคมไทย เรื่อง บทที่ 2 : งานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์ บรรยายเรื่อง งานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์ รวมทั้งความแตกต่างของงานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคมและงานสังคมสงเคราะห์ เกมส์ทายคำศัพท์ (กิจกรรมกลุ่ม) ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำแบบฝึกหัดท้ายบทและใบงาน 1 (หาคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย การเชื่อมโยงกับรายวิชาและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ) การสอบย่อย (Quiz) 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา) ชุดสไลด์จากโปรแกรม Canvaหรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน คู่มือศัพท์ภาษาอังกฤษ คลิปเสียงการออกเสียง Clip VDO จาก Youtube https://youtu.be/p_FyAdagyQw https://youtu.be/Yy-UMGNOYfY https://youtu.be/9VQw5N4qkhM 3. ช่องทางการสอน เรียนในชั้นเรียน (Onsite) Google Classroom |
|
2 |
บทที่ 3: แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม - แนวคิดขวาใหม่ - แนวคิดทางสายกลาง - แนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย - แนวคิดมาร์คซิส - แนวคิดสตรีนิยม - แนวคิดกรีนนิสม์ - แนวคิดซ้ายใหม่หรือแนวคิดทางสายที่สาม - แนวคิดงานสวัสดิการสังคมในประเทศไทย บทที่ 4: งานสวัสดิการสังคมในประเทศต่าง ๆ - งานสวัสดิการสังคมในประเทศอังกฤษ - งานสวัสดิการสังคมในประเทศสหรัฐอเมริกา - งานสวัสดิการสังคมในประเทศไทย |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน บรรยาย เรื่อง บทที่ 3: แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม - แนวคิดขวาใหม่ - แนวคิดทางสายกลาง - แนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย - แนวคิดมาร์คซิส - แนวคิดสตรีนิยม - แนวคิดกรีนนิสม์ - แนวคิดซ้ายใหม่หรือแนวคิดทางสายที่สาม - แนวคิดงานสวัสดิการสังคมในประเทศไทย บทที่ 4: งานสวัสดิการสังคมในประเทศต่าง ๆ - งานสวัสดิการสังคมในประเทศอังกฤษ - งานสวัสดิการสังคมในประเทศสหรัฐอเมริกา - งานสวัสดิการสังคมในประเทศไทย เกมส์ทายคำศัพท์ (กิจกรรมกลุ่ม) ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำแบบฝึกหัดท้ายบทและใบงาน 1 (หาคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย การเชื่อมโยงกับรายวิชาและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ) การสอบย่อย (Quiz) ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา) ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Youtube: https://youtu.be/Ja0uZN3M4T4 https://youtu.be/Jv3hMfTTCfY https://youtu.be/ubZ9fQf9WQw https://youtu.be/X8SEUANQ974 https://youtu.be/PdcrLv5v7LM https://youtu.be/GvTobAuq6UM https://youtu.be/sVl9o94OTfk https://youtu.be/A_Tx0yEojbE 3. ช่องทางการสอน เรียนในชั้นเรียน (Onsite) Google Classroom |
|
3 |
บทที่ 5: องค์การสวัสดิการสังคม นโยบายสังคมและนโยบายสวัสดิการสังคม - องค์การสวัสดิการสังคม - นโยบายสังคม - นโยบายสวัสดิการสังคม บทที่ 6: สวัสดิการครอบครัว - ความหมาย ประเภท ปัญหาของครอบครัว - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการครอบครัว - แนวคิดในการจัดสวัสดิการครอบครัว - การจัดสวัสดิการครอบครัวในประเทศไทย บทที 7: สวัสดิการเด็กและเยาวชน - ความหมาย ปัญหาของเด็กและเยาวชน - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน - แนวคิดในการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน - อนุสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน - การจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชนในประเทศไทย |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน บรรยาย เรื่อง บทที่ 5: องค์การสวัสดิการสังคม นโยบายสังคมและนโยบายสวัสดิการสังคม - องค์การสวัสดิการสังคม - นโยบายสังคม - นโยบายสวัสดิการสังคม บทที่ 6: สวัสดิการครอบครัว - ความหมาย ประเภท ปัญหาของครอบครัว - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการครอบครัว - แนวคิดในการจัดสวัสดิการครอบครัว - การจัดสวัสดิการครอบครัวในประเทศไทย บทที 7: สวัสดิการเด็กและเยาวชน - ความหมาย ปัญหาของเด็กและเยาวชน - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน - แนวคิดในการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน - อนุสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน - การจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชนในประเทศไทย เกมส์ทายคำศัพท์ (กิจกรรมกลุ่ม) ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำแบบฝึกหัดท้ายบทและใบงาน 1 (หาคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย การเชื่อมโยงกับรายวิชาและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ) การสอบย่อย (Quiz) ทำแบบฝึกหัดท้ายบท มอบหมายงาน 1. เลือกศึกษานโยบายหาเสียงของพรรคการเมืองที่ชอบ พร้อมทั้งวิพากษ์โดยใช้กรอบแนวคิดทางด้านสวัสดิการสังคม 2. ศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแต่ละฉบับ พร้อมทั้งให้สะท้อนถึงสวัสดิการสังคมที่เน้นในแต่ละแผน 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา) ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน คลิปที่น่าสนใจจากYoutube 3. ช่องทางการสอน เรียนในชั้นเรียน (Onsite) Google Classroom |
|
4 |
บทที่ 8: สวัสดิการผู้สูงอายุ - ความหมาย ปัญหา และความต้องการของผู้สูงอายุ - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ - แนวคิดในการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ - หลักการ ปฏิญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกับการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ - การจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย บทที่ 9: สวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - ความหมายของคนพิการและ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ - ปัญหาเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - แนวคิดในการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - การจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน บรรยาย เรื่อง บทที่ 8: สวัสดิการผู้สูงอายุ - ความหมาย ปัญหา และความต้องการของผู้สูงอายุ - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ - แนวคิดในการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ - หลักการ ปฏิญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกับการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ - การจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย บทที่ 9: สวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - ความหมายของคนพิการและ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ - ปัญหาเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - แนวคิดในการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ - การจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย เกมส์ทายคำศัพท์ (กิจกรรมกลุ่ม) ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำแบบฝึกหัดท้ายบทและใบงาน 1 (หาคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย การเชื่อมโยงกับรายวิชาและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ) การสอบย่อย (Quiz) ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา) ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน คลิปที่น่าสนใจจากYoutube https://youtu.be/D-L4GwGIaOI 3. ช่องทางการสอน เรียนในชั้นเรียน (Onsite) Google Classroom |
|
5 |
บทที่ 10: ประกันสังคม - ประวัติ ความเป็นมา หลักการ ประเภทของการประกันสังคม - ความสำคัญของการประกัน สังคมที่มีต่อไตรภาคี - วิวัฒนาการของการประกันสังคมในประเทศไทย - หลักการประกันสังคมของประเทศไทย - สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ - บทบาทของประกันสังคมที่มีต่อสวัสดิการสังคม บทที่ 11: สวัสดิการแรงงาน - ความหมาย ประเภท ความสำคัญของสวัสดิการแรงงาน - ตัวอย่างของสวัสดิการแรงงานที่น่าสนใจขององค์กรต่าง ๆ |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน บรรยาย เรื่อง บทที่ 10: ประกันสังคม - ประวัติ ความเป็นมา หลักการ ประเภทของการประกันสังคม - ความสำคัญของการประกัน สังคมที่มีต่อไตรภาคี - วิวัฒนาการของการประกันสังคมในประเทศไทย - หลักการประกันสังคมของประเทศไทย - สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ - บทบาทของประกันสังคมที่มีต่อสวัสดิการสังคม บทที่ 11: สวัสดิการแรงงาน - ความหมาย ประเภท ความสำคัญของสวัสดิการแรงงาน - ตัวอย่างของสวัสดิการแรงงานที่น่าสนใจขององค์กรต่าง ๆ เกมส์ทายคำศัพท์ (กิจกรรมกลุ่ม) ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำแบบฝึกหัดท้ายบทและใบงาน 1 (หาคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย การเชื่อมโยงกับรายวิชาและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ) การสอบย่อย (Quiz) ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา) มอบหมายงาน 1. ให้ศึกษาหน่วยงานที่จัดสวัสดิการแรงงานนอกเหนือกฎหมายกำหนดให้แก่ลูกจ้างพร้อมทั้งวิพากษ์การจัดสวัสดิการแรงงานดังกล่าว ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน คลิปที่น่าสนใจจากYoutube 3. ช่องทางการสอน เรียนในชั้นเรียน (Onsite) Google Classroom |
|
6 |
บทที่ 12 สวัสดิการชุมชน - ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน - หลักสำคัญของการจัดสวัสดิการชุมชน - ปัญหา อุปสรรคในการจัดสวัสดิการชุมชน - เงื่อนไขความสำเร็จของการจัดสวัสดิการชุมชน - แนวทางการส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน บทที่ 13: แนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และสรุป |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน บรรยาย เรื่อง บทที่ 12 สวัสดิการชุมชน - ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน - หลักสำคัญของการจัดสวัสดิการชุมชน - ปัญหา อุปสรรคในการจัดสวัสดิการชุมชน - เงื่อนไขความสำเร็จของการจัดสวัสดิการชุมชน - แนวทางการส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน บทที่ 13: แนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และสรุป เกมส์ทายคำศัพท์ (กิจกรรมกลุ่ม) ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำแบบฝึกหัดท้ายบทและใบงาน 1 (หาคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย การเชื่อมโยงกับรายวิชาและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ) การสอบย่อย (Quiz) ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา) ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน คลิปที่น่าสนใจจากYoutube 3. ช่องทางการสอน เรียนในชั้นเรียน (Onsite) Google Classroom |
|
7-14 | ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ (ภาคองค์กรเอกชน) | 24 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บทวิจัย หรือบทความวิชาการ แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube 3. ช่องทางการสอน สถานประกอบการ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom |
|
15 | รายงานผลการศึกษา (องค์กรภาคเอกชน) | ุ | 6 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน นักศึกษานำเสนอการศึกษา อาจารย์วิพากษ์ ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บทวิจัย หรือบทความวิชาการ แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ คลิป 3. ช่องทางการสอน ในชั้นเรียน (Onsite) Google Classroom |
รวมจำนวนชั่วโมง | 18 | 30 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน แบบฝึกหัด สอบย่อย |
|
25 | |
งานเดี่ยว (สรุปศัพท์ทางวิชาการที่เชื่อมโยงกับรายวิชาและงานต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมาย) |
|
25 | |
งานกลุ่ม (รายงาน การนำเสนอและคลิป) |
|
20 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
เอกสารประกอบการสอน | เป็นเอกสารคำสอนที่ใช้เป็นเอกสารหลักในการเรียนการสอนในรายวิชานี้ | อาจารย์ภายในคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ