Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433502
ภาษาไทย
Thai name
สวัสดิการสังคมและสวัสดิการชุมชน
ภาษาอังกฤษ
English name
SOCIAL WELFARE AND COMMUNITY WELFARE
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
5(2-9-10)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมต่าง ๆ การจัดสวัสดิการสังคมในประเทศต่าง ๆ กระบวนการบริการสังคม นโยบายและงานบริการต่าง ๆ ที่รัฐและเอกชนจัดให้แก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้แก่ ครอบครัว เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ การฟื้นฟูสมรรถนะคนพิการและอื่น ๆ และการจัดสวัสดิการชุมชน ตลอดจนแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคตความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน การจัดการวิสาหกิจชุมชนด้านต่าง ๆ ได้แก่ การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การจัดการกลุ่ม การจัดการด้านการผลิตและการวางแผนการผลิต การจัดการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์การจัดการด้านการตลาด การจัดการด้านการประชาสัมพันธ์ การจัดการด้านการเงินและการจัดทำบัญชี ตลอดจนปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยจำกัดในการจัดการวิสาหกิจชุมชน และแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Meaning, importance, composition, form, principle, scope of social work, concept of social welfare and social service processes, policies and services provided by the government and the private sector to various target groups including families, children and youth, the elderly, people with disabilities, rehabilitation of the disabled, and others, the provision of community welfare, as well as the prospects for social welfare provision in the future
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Online learning
      • Work integrated learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Task-based learning
      • Project-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 - แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน ประเมินผล และข้อตกลงเบื้องต้น

      บทที่ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม
      - ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ ขอบเขต รูปแบบ หลักการทั่วไปของสวัสดิการสังคมและหลักการของสวัสดิการสังคมไทย
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      - แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน ประเมินผล และข้อตกลงเบื้องต้น
      บทที่ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม
      - ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ ขอบเขต รูปแบบ หลักการทั่วไปของสวัสดิการสังคมและหลักการของสวัสดิการสังคมไทย

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      2 บทที่ 2 : งานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์

      - งานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์
      - ความแตกต่างของงานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคมและงานสังคมสงเคราะห์
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง บทที่ 2 : งานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์

      - งานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์
      - ความแตกต่างของงานบริการสังคม งานสวัสดิการสังคมและงานสังคมสงเคราะห์

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      3 บทที่ 3: แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม
      - แนวคิดขวาใหม่
      - แนวคิดทางสายกลาง
      - แนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย
      - แนวคิดมาร์คซิส
      - แนวคิดสตรีนิยม
      - แนวคิดกรีนนิสม์
      - แนวคิดซ้ายใหม่หรือแนวคิดทางสายที่สาม
      - แนวคิดงานสวัสดิการสังคมในประเทศไทย
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 3: แนวคิดเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม
      - แนวคิดขวาใหม่
      - แนวคิดทางสายกลาง
      - แนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย
      - แนวคิดมาร์คซิส
      - แนวคิดสตรีนิยม
      - แนวคิดกรีนนิสม์
      - แนวคิดซ้ายใหม่หรือแนวคิดทางสายที่สาม
      - แนวคิดงานสวัสดิการสังคมในประเทศไทย

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      Youtube: https://youtu.be/Ja0uZN3M4T4

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      4 บทที่ 4: งานสวัสดิการสังคมในประเทศต่าง ๆ
      - งานสวัสดิการสังคมในประเทศอังกฤษ
      - งานสวัสดิการสังคมในประเทศสหรัฐอเมริกา
      - งานสวัสดิการสังคมในประเทศไทย
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 4: งานสวัสดิการสังคมในประเทศต่าง ๆ
      - งานสวัสดิการสังคมในประเทศอังกฤษ
      - งานสวัสดิการสังคมในประเทศสหรัฐอเมริกา
      - งานสวัสดิการสังคมในประเทศไทย

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน ให้ศึกษาสวัสดิการสังคมของประเทศที่สนใจมา 1 ประเทศและนำเสนอต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      5 บทที่ 5: องค์การสวัสดิการสังคม นโยบายสังคมและนโยบายสวัสดิการสังคม
      - องค์การสวัสดิการสังคม
      - นโยบายสังคม
      - นโยบายสวัสดิการสังคม
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 5: องค์การสวัสดิการสังคม นโยบายสังคมและนโยบายสวัสดิการสังคม
      - องค์การสวัสดิการสังคม
      - นโยบายสังคม
      - นโยบายสวัสดิการสังคม

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้ศึกษานโยบายนายกประยุทธ์ จันทร์โอชา พร้อมทั้งวิพากษ์โดยใช้กรอบแนวคิดทางด้านสวัสดิการสังคมและนำเสนอต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน
      2. ศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแต่ละฉบับ พร้อมทั้งให้สะท้อนถึงสวัสดิการสังคมที่เน้นในแต่ละแผน

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      6 บทที่ 6: สวัสดิการครอบครัว
      - ความหมาย ประเภท ปัญหาของครอบครัว
      - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการครอบครัว
      - แนวคิดในการจัดสวัสดิการครอบครัว
      - การจัดสวัสดิการครอบครัวในประเทศไทย
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 6: สวัสดิการครอบครัว
      - ความหมาย ประเภท ปัญหาของครอบครัว
      - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการครอบครัว
      - แนวคิดในการจัดสวัสดิการครอบครัว
      - การจัดสวัสดิการครอบครัวในประเทศไทย


      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้ศึกษาหน่วยงานที่จัดสวัสดิการสังคมให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (ครอบครัว) พร้อมทั้งวิพากษ์การจัดสวัสดิการสังคม
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      7 บทที่ 7: สวัสดิการเด็กและเยาวชน
      - ความหมาย ปัญหาของเด็กและเยาวชน
      - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน
      - แนวคิดในการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน
      - อนุสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน
      - การจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชนในประเทศไทย
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 7: สวัสดิการเด็กและเยาวชน
      - ความหมาย ปัญหาของเด็กและเยาวชน
      - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน
      - แนวคิดในการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน
      - อนุสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน
      - การจัดสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชนในประเทศไทย


      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้ศึกษาหน่วยงานที่จัดสวัสดิการสังคมให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (เด็กและเยาวชน) พร้อมทั้งวิพากษ์การจัดสวัสดิการสังคม
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      8 บทที่ 8: สวัสดิการผู้สูงอายุ
      - ความหมาย ปัญหา และความต้องการของผู้สูงอายุ
      - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
      - แนวคิดในการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
      - หลักการ ปฏิญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกับการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
      - การจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 8: สวัสดิการผู้สูงอายุ
      - ความหมาย ปัญหา และความต้องการของผู้สูงอายุ
      - ความสำคัญของการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
      - แนวคิดในการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
      - หลักการ ปฏิญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกับการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
      - การจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย


      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้ศึกษาหน่วยงานที่จัดสวัสดิการสังคมให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (ผู้สูงอายุ) พร้อมทั้งวิพากษ์การจัดสวัสดิการสังคม
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      Youtube: https://youtu.be/D-L4GwGIaOI

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      9 บทที่ 9: สวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - ความหมายของคนพิการและ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ
      - ปัญหาเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - แนวคิดในการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - การจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 9: สวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - ความหมายของคนพิการและ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ
      - ปัญหาเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - แนวคิดในการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
      - การจัดสวัสดิการและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย



      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้ศึกษาหน่วยงานที่จัดสวัสดิการสังคมให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (คนพิการ) พร้อมทั้งวิพากษ์การจัดสวัสดิการสังคม

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      10 บทที่ 10: สวัสดิการแรงงาน
      - ความหมาย ประเภท ความสำคัญของสวัสดิการแรงงาน
      - ตัวอย่างของสวัสดิการแรงงานที่น่าสนใจขององค์กรต่าง ๆ

      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 10: สวัสดิการแรงงาน
      - ความหมาย ประเภท ความสำคัญของสวัสดิการแรงงาน
      - ตัวอย่างของสวัสดิการแรงงานที่น่าสนใจขององค์กรต่าง ๆ




      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้ศึกษาหน่วยงานที่จัดสวัสดิการแรงงานนอกเหนือกฎหมายกำหนดให้แก่ลูกจ้างพร้อมทั้งวิพากษ์การจัดสวัสดิการแรงงานดังกล่าว

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      11 บทที่ 11: ประกันสังคม
      - ประวัติ ความเป็นมา หลักการ ประเภทของการประกันสังคม
      - ความสำคัญของการประกัน สังคมที่มีต่อไตรภาคี
      - วิวัฒนาการของการประกันสังคมในประเทศไทย
      - หลักการประกันสังคมของประเทศไทย
      - สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ
      - บทบาทของประกันสังคมที่มีต่อสวัสดิการสังคม
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 11: ประกันสังคม
      - ประวัติ ความเป็นมา หลักการ ประเภทของการประกันสังคม
      - ความสำคัญของการประกัน สังคมที่มีต่อไตรภาคี
      - วิวัฒนาการของการประกันสังคมในประเทศไทย
      - หลักการประกันสังคมของประเทศไทย
      - สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ
      - บทบาทของประกันสังคมที่มีต่อสวัสดิการสังคม

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้วิเคราะห์บทบาทของประกันสังคมที่มีต่อสวัสดิการสังคม

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      12 บทที่ 12: การจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย: ประเด็นที่น่าสนใจ 3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 12: การจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย: ประเด็นที่น่าสนใจ

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้เลือกศึกษากและวิเคราะห์ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      13 บทที่ 13: สวัสดิการชุมชน
      - ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน
      - หลักสำคัญของการจัดสวัสดิการชุมชน
      - ปัญหา อุปสรรคในการจัดสวัสดิการชุมชน
      - เงื่อนไขความสำเร็จของการจัดสวัสดิการชุมชน
      - แนวทางการส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 13: สวัสดิการชุมชน
      - ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน
      - หลักสำคัญของการจัดสวัสดิการชุมชน
      - ปัญหา อุปสรรคในการจัดสวัสดิการชุมชน
      - เงื่อนไขความสำเร็จของการจัดสวัสดิการชุมชน
      - แนวทางการส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้เลือกศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับสวัสดิการชุมชนที่สนใจมา 1 ประเภท นำเสนอ

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      14 บทที่ 13: สวัสดิการชุมชน
      - ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน
      - หลักสำคัญของการจัดสวัสดิการชุมชน
      - ปัญหา อุปสรรคในการจัดสวัสดิการชุมชน
      - เงื่อนไขความสำเร็จของการจัดสวัสดิการชุมชน
      - แนวทางการส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 13: สวัสดิการชุมชน
      - ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน
      - หลักสำคัญของการจัดสวัสดิการชุมชน
      - ปัญหา อุปสรรคในการจัดสวัสดิการชุมชน
      - เงื่อนไขความสำเร็จของการจัดสวัสดิการชุมชน
      - แนวทางการส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท
      มอบหมายงาน
      1. ให้เลือกศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับสวัสดิการชุมชนที่สนใจมา 1 ประเภท

      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      15 บทที่ 15: แนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และสรุป 3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยาย เรื่อง
      บทที่ 15: แนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต
      และสรุปภาพรวม

      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ทำแบบฝึกหัดท้ายบท


      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      หนังสือ หรือ ตำรา (ใส่ไว้ใน Google Classroom รายวิชา)
      Clip VDO สรุปประจำบท (จัดทำขึ้น ความยาวประมาณ 1-3 นาที)

      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

      3. ช่องทางการสอน
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • A1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • A2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      10
      งานเดี่ยว
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • A1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • A2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      40
      งานกลุ่ม
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • A1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • A2: เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ที่มีอย่างมีประสิทธิภาพ
      10
      สอบปลายภาค
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย แนวคิด กระบวนการเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม นโยบายและงานบริการสวัสดิการสังคมต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งแนวโน้มการจัดสวัสดิการสังคมในอนาคต และคำศัพท์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องชุมชน
      • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ
      • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ ปัญหาสังคมและการใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพสังคมและการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความสำคัญและความจำเป็นของสวัสดิการสังคม
      • S3: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่เป็นไปได้อย่างเหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายานั้น
      • S4: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาสังคมต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
      • A1: เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม มีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานและมีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      40
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      เอกสารประกอบการสอน เป็นเอกสารคำสอนที่ใช้เป็นเอกสารหลักในการเรียนการสอนในรายวิชานี้ อาจารย์ภายในคณะ
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

      รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

      1. ด้านความรู้
      1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
      1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
      1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

      2. ด้านทักษะ
      2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
      องค์ความรู้ได้
      2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
      2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
      2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม

      3. ด้านจริยธรรม
      3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
      3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย

      4. ด้านลักษณะบุคคล
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี

      5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
      5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
      5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม