Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS434806
ภาษาไทย
Thai name
ธรรมาภิบาลการพัฒนาสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
GOOD GOVERNANCE IN SOCIAL DEVELOPMENT
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-1-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิรดี วงศ์ศิริ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิรดี วงศ์ศิริ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและความหมายของธรรมาภิบาล
    • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดวิธีการ กระบวนการวางแผนการพัฒนา
    • นักศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ธรรมาภิบาลในโครงการพัฒนาของรัฐ เอกชน หรือองค์กรภาคประชาสังคม
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      • นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      • นักศึกษารู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      แนวคิด วิธีการ กระบวนการวางแผนการธรรมาภิบาลในการพัฒนาสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ วิธีการและกระบวนการสำหรับธรรมมาภิบาลในการพัฒนาสังคมของโครงการพัฒนาของภาครัฐและเอกชน การวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา การติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Concepts, methods and planning processes of in good governance in social development, relationships between different levels of planning, methods and processes of good governance in social development projects of government and privates, analysis of enabling and risk factors in implementing, monitoring and evaluation of development projects

      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Online learning
      • Work integrated learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Task-based learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำขอบข่ายรายวิชาและการเรียนการสอน
      หน่วยที่ 1: ธรรมาภิบาลกับการพัฒนา
      1.1 แนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาล
      1.2 ความหมายและความสำคัญของธรรมาภิบาล
      1.3 ความหมายและความสำคัญของการพัฒนา
      1.3 ธรรมาภิบาลกับการพัฒนา
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและความหมายของธรรมาภิบาล
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • C1: นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      1. บรรยายเรื่องแนวคิดและความหมายของธรรมาภิบาล รวมถึงธรรมาภิบาลในการพัฒนาสังคม
      2. บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      3. อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      4. ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      5. ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      6. Google Classroom
      2-3 หน่วยที่ 2: การวางแผนการและการเขียนโครงการ
      2.1 ความหมายและความสำคัญของการวางแผน
      2.2 การเขียนโครงการ
      6
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดวิธีการ กระบวนการวางแผนการพัฒนา
      • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • C1: นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      1. บรรยายเรื่องการวางแผนการและการเขียนโครงการ
      2. อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      3. บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      4. ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      5. ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      6. Google Classroom
      4 หน่วยที่ 3: โครงการพัฒนากับธรรมาภิบาล
      3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนากับโครงการพัฒนาระดับต่าง ๆ
      3.2 วิธีการและกระบวนการสำหรับธรรมมาภิบาลในการพัฒนาสังคมของโครงการพัฒนาของภาครัฐและเอกชน
      3
      • K4: นักศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ
      • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ธรรมาภิบาลในโครงการพัฒนาของรัฐ เอกชน หรือองค์กรภาคประชาสังคม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • C1: นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      1. บรรยายเรื่องโครงการพัฒนากับธรรมาภิบาล
      2. อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      3. บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      4. ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      5. ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      6. Google Classroom
      5 หน่วยที่ 4: ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา
      4.1 ความหมายและความสำคัญของความเสี่ยง
      4.2 การจัดการความเสี่ยง
      4.3 การวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยง
      3
      • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา
      • K4: นักศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • C1: นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      1. บรรยายเรื่องปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา
      2. อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      3. บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      4. ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      5. ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      6. Google Classroom
      6 หน่วยที่ 5: การติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      5.1 ความหมายของการติดตามและรูปแบบการติดตามโครงการพัฒนา
      5.2 ความหมายของการประเมินผลและรูปแบบการประเมินผลโครงการพัฒนา
      5.3 วิธีการประเมินผลโครงการพัฒนา
      3
      • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • C1: นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      1. บรรยายเรื่อง การติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      2. อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      3. บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      4. ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      5. ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      6. Google Classroom
      7-14 การฝึกงานภาคสนาม ณ สถานประกอบการที่ได้รับมอบหมาย
      จำนวน 8 สัปดาห์ (วันละ 8 ชั่วโมงทำการ)
      48
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและความหมายของธรรมาภิบาล
      • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดวิธีการ กระบวนการวางแผนการพัฒนา
      • K4: นักศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ
      • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ธรรมาภิบาลในโครงการพัฒนาของรัฐ เอกชน หรือองค์กรภาคประชาสังคม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C2: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      • C3: นักศึกษารู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      การให้คำปรึกษาตลอดการฝึกปฏิบัติงาน จำนวน 8 สัปดาห์ ผ่านช่องทางอีเมลและ google classroom
      15 ภาคนิพนธ์ 9
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและความหมายของธรรมาภิบาล
      • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดวิธีการ กระบวนการวางแผนการพัฒนา
      • K4: นักศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ
      • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ธรรมาภิบาลในโครงการพัฒนาของรัฐ เอกชน หรือองค์กรภาคประชาสังคม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • C1: นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      • C2: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      • C3: นักศึกษารู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      การนำเสนองาน
      การเขียนเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
      Google Classroom
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      รวมจำนวนชั่วโมง 75 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      งานเดี่ยว
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • A1: นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      50 ใบงานและการทดสอบย่อย
      งานกลุ่ม ซึ่งประกอบด้วย
      1. รายงานผลการศึกษาจากการฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม
      2. การนำเสนอผลงานการฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม โดยการนำเสนอรูปแบบนิทรรศการ
      3. การประเมินเพื่อนร่วมงาน
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและความหมายของธรรมาภิบาล
      • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดวิธีการ กระบวนการวางแผนการพัฒนา
      • K4: นักศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ
      • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ธรรมาภิบาลในโครงการพัฒนาของรัฐ เอกชน หรือองค์กรภาคประชาสังคม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • A2: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      • A3: นักศึกษารู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      30 ประเมินผลการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม
      การประเมินผลการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติงานโดยสถานประกอบการ
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและความหมายของธรรมาภิบาล
      • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินโครงการพัฒนา
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดวิธีการ กระบวนการวางแผนการพัฒนา
      • K4: นักศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ
      • K5: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนา
      • K6: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ธรรมาภิบาลในโครงการพัฒนาของรัฐ เอกชน หรือองค์กรภาคประชาสังคม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S3: นักศึกษามีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • A1: นักศึกษาสามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
      • A2: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
      • A3: นักศึกษารู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      20 แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงานภาคสนามโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา เชาว์ อินใย. (2553). การประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา มยุรี อนุมานราชธน. (2551). การบริหารโครงการ. ปทุมธานี : ดูมายเบส.
      หนังสือ หรือ ตำรา เรืองวิทย์ เกษมสุวรรณ. (2557). การวางแผนและการวิเคราะห์โครงการ. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์.
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน เอกสารประกอบการบรรยายตามหัวข้อต่าง ๆ โดยอาจารย์ผู้สอน
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

      3. ด้านทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ