รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1. แนะนำรายละเอียดรายวิชา คำอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์ 2. แจ้งแผนการสอนและข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับระเบียบในห้องเรียน ภารกิจการเรียนรู้ของรายวิชา และเกณฑ์การประเมินผล 3. ประเพณีนิยม ชีวิตความเป็นอยู่ และเทศกาลสำคัญของจีน |
3 |
|
(1) พบนักศึกษา เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ และเกณฑ์การประเมินผลการเรียน พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน (2) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips (Clip 1 ประเพณีนิยมของชาวจีน Clip 2 เทศกาลสำคัญของจีน) (3) พบนักศึกษา เพื่ออภิปรายร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 Discussion Forums หัวข้อ “ประเพณีนิยม ชีวิตความเป็นอยู่ และเทศกาลสำคัญของจีนที่แพร่หลายในไทย” รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเรื่องประเพณีนิยมของจีน (4) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และดู YouTube หัวข้อ ประเพณีนิยมของจีน และเทศกาลสำคัญของจีนผ่านระบบ KKU e-Learning (5) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความเข้าใจผ่านระบบ KKU e-Learning |
|
2 | โบราณสถาน โบราณวัตถุ และเทคโนโลยีในยุคโบราณของจีน | 3 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips (Clip 1 โบราณสถานของจีน Clip 2 โบราณวัตถุของจีน) (2) พบนักศึกษา เพื่ออภิปรายร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 Discussion Forums หัวข้อ “โบราณสถานและโบราณวัตถุที่รู้จัก” หัวข้อที่ 2 Discussion Forums หัวข้อ “เทคโนโลยีในยุคโบราณของจีน” รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับบทเรียน (3) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และดู YouTube หัวข้อ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และเทคโนโลยีในยุคโบราณของจีนผ่านระบบ KKU e-Learning (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความเข้าใจผ่านระบบ KKU e-Learning (5) นักศึกษานำเสนองานเรื่องประเพณีนิยม ชีวิตความเป็นอยู่ และเทศกาลสำคัญของจีน |
|
3 | ปรัชญาดั้งเดิมและคุณธรรมอันดีงามของจีน | 3 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips (Clip 1 ปรัชญาดั้งเดิมของจีน Clip 2 คุณธรรมอันดีงามของจีน) (2) พบนักศึกษา เพื่ออภิปรายร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 Discussion Forums หัวข้อ “ปรัชญาขงจื่อ และเต๋ากับคุณธรรมอันดีงาม” รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเรื่องปรัชญาดั้งเดิมและคุณธรรมอันดีงามของจีน (3) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และดู YouTube หัวข้อ ปรัชญาจีนผ่านระบบ KKU e-Learning (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความเข้าใจผ่านระบบ KKU e-Learning (5) นักศึกษานำเสนองานเรื่องโบราณสถาน โบราณวัตถุ และเทคโนโลยียุคโบราณของจีน |
|
4 | ศิลปะและวรรณคดีโบราณของจีน | 3 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips (Clip 1 ศิลปะดั้งเดิมของจีน Clip 2 วรรณคดีสมัยโบราณของจีน) (2) พบนักศึกษา เพื่ออภิปรายร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 Discussion Forums หัวข้อ “ศิลปะและวรรณคดีโบราณของจีนที่พบในไทย” รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเรื่องศิลปะและวรรณคดีสมัยโบราณของจีน (3) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน และดู YouTube หัวข้อ โบราณสถานและโบราณวัตถุของจีนผ่านระบบ KKU e-Learning (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความเข้าใจผ่านระบบ KKU e-Learning (5) นักศึกษานำเสนองานเรื่อง ปรัชญาดั้งเดิมและคุณธรรมอันดีงามของจีน |
|
5-6 |
1.ความเป็นมาและลักษณะเด่นของวัฒนธรรมญี่ปุ่น 2.วัฒนธรรมการรับประทานอาหารของชาวญี่ปุ่น 3.มารยาทในการรับประทานอาหารญี่ปุ่น |
6 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips (Clip 1 ความเป็นมาและลักษณะเด่นของวัฒนธรรมญี่ปุ่น Clip 2 วัฒนธรรมการรับประทานอาหารของชาวญี่ปุ่น และมารยาทในการรับประทานอาหารญี่ปุ่น) (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน ดูวิธีทำข้าวปั้น มากิซูชิ และวิธีจับตะเกียบ ผ่าน You Tube รวมถึงตอบข้อซักถาม (3) พบนักศึกษา เพื่อฝึกปฏิบัติการทำข้าวปั้น มากิซูชิ และฝึกการจับตะเกียบ รวมถึงตอบข้อซักถาม (4) มอบหมายงานและส่งงานใน KKU E-learning |
|
7 |
1.วัฒนธรรมทางการละเล่นของญี่ปุ่น 2.วัฒนธรรมทางด้านศิลปะของญี่ปุ่น |
3 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips (Clip 1 วัฒนธรรมทางการละเล่นของญี่ปุ่น Clip 2 วัฒนธรรมทางด้านศิลปะของญี่ปุ่น) (2) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเป็นกลุ่มเกี่ยวกับ การพับกระดาษ พิธีชงชาและการจัดดอกไม้ของญี่ปุ่น (3) นักศึกษานำเสนอผลงานและสาธิตการพับกระดาษ วิธีชงชา และจัดดอกไม้ พร้อมตอบข้อซักถาม (4) มอบหมายงานกลุ่มและส่งงานใน KKU E-learning |
|
8-9 |
1.วัฒนธรรมการแต่งกายของญี่ปุ่น 2. วัฒนธรรมการทักทายของญี่ปุ่น |
6 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips (Clip 1 วัฒนธรรมทางการแต่งกายของญี่ปุ่น Clip 2 วัฒนธรรมการทักทายของญี่ปุ่น) (2) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเป็นกลุ่มเกี่ยวกับ กิโมโนและยูกะตะ รวมไปถึงการโค้งคำนับและและแลกนามบัตร (3) นักศึกษานำเสนอผลงาน และสาธิตวิธีการใส่ชุดยูกะตะ การโค้งคำนับและการแลกนามบัตร พร้อมตอบข้อซักถาม (4) มอบหมายงานกลุ่มและส่งงานใน KKU E-learning |
|
10 | วัฒนธรรมทางความเชื่อของญี่ปุ่น | 3 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips วัฒนธรรมทางความเชื่อของญี่ปุ่น (2) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเป็นกลุ่มเกี่ยวกับ ความเชื่อในตุ๊กตาไล่ฝน ตุ๊กตาฮินะ และตุ๊กตาดะรุมะ (3) นักศึกษานำเสนอผลงาน และสาธิตวิธีทำตุ๊กตาไล่ฝน พร้อมตอบข้อซักถาม (4) มอบหมายงานกลุ่มและส่งงานใน KKU E-learning |
|
11 |
วัฒนธรรมการทักทายของเกาหลี |
3 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips วัฒนธรรมการทักทายของเกาหลี (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน ดูวิธีการทักทาย ผ่าน You Tube รวมถึงตอบข้อซักถาม (3) พบนักศึกษาเพื่อฝึกท่าทางการทักทายแบบเกาหลี รวมถึงตอบข้อซักถาม (4) มอบหมายงานและส่งงานใน Google Classroom |
|
12 | วัฒนธรรมการแต่งกายของเกาหลี | 3 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips วัฒนธรรมทางการแต่งกายของเกาหลี (2) สาธิตวิธีการใส่ชุดฮันบก พร้อมเชิญวิทยากรชาวเกาหลีมาเป็นผู้ให้ความรู้ และตอบข้อซักถาม (3) มอบหมายงานและส่งงานใน Google Classroom และตอบข้อซักถาม |
|
13-14 |
วัฒนธรรมการรับประทานของเกาหลี มารยาทในการรับประทานอาหารเกาหลี วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับเทศกาลของเกาหลี (เทศกาลปีใหม่และชูซ็อก) |
6 |
|
(1) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips วัฒนธรรมการรับประทานอาหารของชาวเกาหลี และมารยาทในการรับประทานอาหารเกาหลี) (2) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน เชิญวิทยากรชาวเกาหลีมาให้ความรู้เรื่องการทำอาหารเกาหลี รวมถึงตอบข้อซักถาม (3) พบนักศึกษา เพื่อฝึกปฏิบัติการทำอาหารเกาหลี รวมถึงตอบข้อซักถาม (4) มอบหมายงานและส่งงานใน Google Classroom (5) สอนเนื้อหาโดยใช้ VDO clips (Clip 1 เทศกาลปีใหม่ของเกาหลี Clip 2 เทศกาลชูซ็อกของเกาหลี) (6) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเป็นกลุ่มเกี่ยวกับ ความสำคัญของเทศกาลปีใหม่และชูซ็อก รวมถึงสิ่งที่ปฏิบัติต่อๆกันมาในวันปีใหม่และชูซ็อก (7) นักศึกษานำเสนอผลงานและความสำคัญของเทศกาลปีใหม่และชูซ็อก รวมถึงสิ่งที่ปฏิบัติต่อๆกันมาในวันปีใหม่และชูซ็อก พร้อมตอบข้อซักถาม |
|
15 |
เปรียบเทียบวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก นำเสนอผลงานภายใต้หัวข้อเปรียบเทียบวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก |
3 |
|
(1) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเป็นกลุ่มเกี่ยวกับวัฒนธรรมด้านต่างๆที่สนใจ และนำเสนอผลงานภายใต้หัวข้อเปรียบเทียบวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก พร้อมทั้งตอบข้อซักถาม (4) มอบหมายงานกลุ่มและส่งงานใน Google Classroom |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
นำเสนองาน |
|
20 | |
ทดสอบย่อย |
|
15 | |
การมีส่วนร่วมในการเรียน |
|
5 | |
การสอบกลางภาค |
|
30 | |
การสอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ปราณี จงสุจริตธรรม,ผกาทิพย์ สกุลครู และคณะ.(2549).ญี่ปุ่น 360 องศา : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สำนักงานชาวจีนโพ้นทะเล และ สำนักงานส่งเสริมการเรียนภาษาจีน.(2006).ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเทศจีน,ปักกิ่ง : สำนักพิมพ์การอุดมศึกษา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | แสวง จงสุจริตธรรม และปราณี จงสุจริตธรรม.(2548).วัฒนธรรมญี่ปุ่น : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อีเยว็อน.(2565).แบบเรียนการอ่านภาษาเกาหลีสำหรับผู้เรียนชาวไทย หมวดวัฒนธรรม 1: มุนฮวาคอนเทนต์แจม จำกัด. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | คิมแฮอ๊ก.(2554).การอ่านวัฒนธรรมเกาหลีสำหรับชาวต่างชาติ : Korea National Open University Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปาร์คซ็อกจุน และคณะ. (2560). เซจง วัฒนธรรมเกาหลี : ทารักวอน |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ