Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาเยอรมัน
German
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS721103
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาเยอรมัน 1
ภาษาอังกฤษ
English name
GERMAN I
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาเยอรมัน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อชุญาภ์ ลากูล
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์อชุญาภ์ ลากูล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • 3. ผู้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและเยอรมันได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • 1. ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์และมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
    ทักษะ
    Skills
    • 1. ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • 2. ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    • 3. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การสืบค้นข้อมูลและการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของตนเองและผู้อื่นได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • 1. ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีในการเรียนรู้ มีความมั่นใจและกล้าแสดงความเห็นของตนเอง
    • 2. ผู้เรียนสามารถเปิดรับและเคารพในความหลากหลายของผู้อื่นและความเห็นที่แตกต่างจากตนได้
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การผันกริยา ประโยคคำถาม บุรุษสรรพนาม คำนำหน้าคำนาม คำปฏิเสธ คำกริยาวิเศษณ์ คำบุพบท การบอกเวลา คำกริยาแบบแยกตัว กรรมตรง คำกริยาบอกอาการ และรูปอดีตกาล
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Conjugation of verbs, interrogative sentences, personal pronouns, articles, negation, adverbs, prepositions, Adverbs of time, separable verbs, accusative object, modal verbs, past tenses
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Problem-based learning
    • Task-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - 4 - แนะนำรายวิชา
    - ปฐมบท Willkommen: Alphabet, Begrüßung, Gegenstände im Kursraum, W-Fragen
    - บทที่ 1 Sommerkurs in Leipzig: Orte, Länder, Sprachen, Verben im Präsens, W-Fragen und Satzfragen


    12
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • K3: 3. ผู้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและเยอรมันได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบได้
    • S1: 1. ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • S3: 3. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การสืบค้นข้อมูลและการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของตนเองและผู้อื่นได้
    • E1: 1. ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์และมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
    แนวการสอน

    - บรรยาย อธิบายเนื้อหาโดยผู้สอน
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
    - ทบทวนเนื้อหาโดยใช้แบบฝึกหัดประจำบท
    - จัดกิจกรรมฝึกทักษะการสนทนาเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มผ่านบทบาทสมมติที่กำหนดให้
    - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือความชอบผ่านหัวข้อต่างๆ ในระหว่างชั้นเรียน
    - ทบทวนคำศัพท์โดยการเล่นเกมส์

    หนังสือ หรือ ตำรา

    - หนังสือเรียน Das Leben และหนังสือ Deutsche Grammatik
    - ชีทคำศัพท์เพิ่มเติม
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Quizizz และ google classroom

    5-7 - บทที่ 2 Möller oder Müller?: Adresse, Zahlen, Artikel und Nomen, W-Fragen
    - บทที่ 3 Arbeiten im Café: Getränke, Rechnungen, im Café bestellen und bezahlen, bestimmter und unbestimmter Artikel, das Verb sein
    9
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • K3: 3. ผู้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและเยอรมันได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบได้
    • S1: 1. ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • S2: 2. ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    • S3: 3. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การสืบค้นข้อมูลและการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของตนเองและผู้อื่นได้
    แนวการสอน

    - บรรยาย อธิบายเนื้อหาโดยผู้สอน
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
    - ทบทวนเนื้อหาโดยใช้แบบฝึกหัดประจำบท
    - จัดกิจกรรมฝึกทักษะการสนทนาเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มผ่านบทบาทสมมติที่กำหนดให้
    - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือความชอบผ่านหัวข้อต่างๆ ในระหว่างชั้นเรียน
    - ทบทวนคำศัพท์โดยการเล่นเกมส์

    หนังสือ หรือ ตำรา

    - หนังสือเรียน Das Leben และหนังสือ Deutsche Grammatik
    - ชีทคำศัพท์เพิ่มเติม
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Quizizz และ google classroom
    8-10 - บทที่ 4 Lecker essen!: Essen, Speisekarte, Spezialität, bestimmer und unbestimmter Artikel im Akkusativ, nicht und kein
    - บทที่ 5 Hast du Zeit?: Zeitangaben, Wochentage, Tageszeiten, Termin, Einladung, trennbare Verben, Wort- und Satzfragen


    9
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • K3: 3. ผู้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและเยอรมันได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบได้
    • S1: 1. ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • S3: 3. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การสืบค้นข้อมูลและการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของตนเองและผู้อื่นได้
    • C2: 2. ผู้เรียนสามารถเปิดรับและเคารพในความหลากหลายของผู้อื่นและความเห็นที่แตกต่างจากตนได้
    แนวการสอน

    - บรรยาย อธิบายเนื้อหาโดยผู้สอน
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
    - ทบทวนเนื้อหาโดยใช้แบบฝึกหัดประจำบท
    - จัดกิจกรรมฝึกทักษะการสนทนาเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มผ่านบทบาทสมมติที่กำหนดให้
    - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือความชอบผ่านหัวข้อต่างๆ ในระหว่างชั้นเรียน
    - ทบทวนคำศัพท์โดยการเล่นเกมส์

    หนังสือ หรือ ตำรา

    - หนังสือเรียน Das Leben และหนังสือ Deutsche Grammatik
    - ชีทคำศัพท์เพิ่มเติม
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Quizizz และ google classroom
    11-13 - บทที่ 6 Meine Stadt: Reise, Sehenwürdigkeiten, Wegbeschreibung, Possessiva im Nominativ, Präteritum von sein
    - บทที่ 7 Der neue Job: Beruf, Interview, Büro, Ordnungszahlen, Präpositionen im, auf, am, neben

    9
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • K3: 3. ผู้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและเยอรมันได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบได้
    • S2: 2. ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    • S3: 3. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การสืบค้นข้อมูลและการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของตนเองและผู้อื่นได้
    • E1: 1. ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์และมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
    บรรยาย
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ดูคลิป แล้วอภิปรายร่วมกัน
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา

    หนังสือ หรือ ตำรา
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์

    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    Google Classroom
    14-15 - บทที่ 8 Freitzeit und Hobbys: Hobbys, Sport, Präteritum von sein und haben, Modalverben können
    - ทบทวนบทเรียนและนำเสนอผลงาน
    6
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • K3: 3. ผู้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและเยอรมันได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบได้
    • S1: 1. ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • S3: 3. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การสืบค้นข้อมูลและการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของตนเองและผู้อื่นได้
    • E1: 1. ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์และมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน

    แนวการสอน

    - บรรยาย อธิบายเนื้อหาโดยผู้สอน
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
    - ทบทวนเนื้อหาโดยใช้แบบฝึกหัดประจำบท
    - จัดกิจกรรมฝึกทักษะการสนทนาเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มผ่านบทบาทสมมติที่กำหนดให้
    - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือความชอบผ่านหัวข้อต่างๆ ในระหว่างชั้นเรียน
    - ทบทวนคำศัพท์โดยการเล่นเกมส์

    หนังสือ หรือ ตำรา

    - หนังสือเรียน Das Leben และหนังสือ Deutsche Grammatik
    - ชีทคำศัพท์เพิ่มเติม
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    - แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Quizizz และ google classroom
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • E1: 1. ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์และมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
    • A1: 1. ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีในการเรียนรู้ มีความมั่นใจและกล้าแสดงความเห็นของตนเอง
    • A2: 2. ผู้เรียนสามารถเปิดรับและเคารพในความหลากหลายของผู้อื่นและความเห็นที่แตกต่างจากตนได้
    10
    สอบกลางภาค
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • K3: 3. ผู้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและเยอรมันได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบได้
    • S1: 1. ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    30
    assignments
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • S3: 3. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การสืบค้นข้อมูลและการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของตนเองและผู้อื่นได้
    • E1: 1. ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์และมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
    10
    ทดสอบย่อย
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • S1: 1. ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    20
    สอบปลายภาค
    • K1: 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะภาษาเยอรมันทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนในระดับเบื้องต้น
    • K2: 2. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทางไวยากรณ์ ตลอดจนคำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสนทนา ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในประเด็นหรือหัวข้อในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    • K3: 3. ผู้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและเยอรมันได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบได้
    • S1: 1. ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน สามารถสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างง่ายได้
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Das Leben A1 (Cornelsen Verlag) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ PagePlayer App - Cornelsen อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ศรีนันทา ศิลปสวัสดิ์. (2550). ไวยากรณ์ภาษาเยอรมัน (Grammatik lernen und üben). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ภายนอกคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา สมบุญ ปิยะสินธ์ชาติ. (2547) สับศัพท์เยอรมัน. กรุงเทพ: Dear book imaging center
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    • ประเมินโดยการประชุมร่วมของอาจารย์ใน สาขาวิชาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ขอคำแนะนำ ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ที่มีความรู้และประสบการณ์ หรือเพื่อนร่วมงาน
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้ ดังนี้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

    3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ