Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาเยอรมัน
German
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS723802
ภาษาไทย
Thai name
ประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน
ภาษาอังกฤษ
English name
GERMANY TODAY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS722109#,HS722110#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาเยอรมัน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป
    • อาจารย์Wasim Nseibeh
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์Wasim Nseibeh
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์เยอรมันโดยสังเขป เศรษฐกิจและการประกันสังคมการศึกษา ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน เทศกาลที่สำคัญ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      A brief history of German history and geography, economy and social insurance, education, mentalities and general characteristics of German people, important festivals
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Content and language integrated learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชา
      - การเขียนสรุป
      - การรายงานเป็นภาษาเยอรมัน
      - การเขียนรายงานการค้นคว้าเป็นรูปเล่ม
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียน การสอน
      บรรยาย
      - ถาม-ตอบ
      - อภิปราย
      - แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น
      - สรุปบทความ(งานกลุ่ม)
      - อภิปรายในกลุ่ม
      - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกลุ่มและผู้สอน
      - แบ่งหัวข้อรายงาน
      สื่อการสอน
      - แผนการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      - Internet
      - บทความภาษาเยอรมัน
      - งานสรุป
      Google Classroom
      ในห้องเรียน/ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      2-3 บทที่ 1 ประวัติศาสตร์เยอรมัน I
      - ความเป็นมาของชาวเยอรมัน
      - เยอรมันยุคโบราณ ยุคกลาง และ ยุค New Age
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • C3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียน การสอน
      - บรรยายโดยผู้สอนเพื่อเป็นตัวอย่างการรายงานหน้าชั้นตามที่แนะนำไปในสัปดาห์ที่ 1
      - ถาม-ตอบ
      - สรุปเนื้อหา
      สื่อการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      - Power point
      Google Classroom
      ในห้องเรียน/ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      4-6 บทที่ 2 ประวัติศาสตร์เยอรมัน II
      - สงครามโลกครั้งที่ 1
      - สงครามโลกครั้งที่ 2
      - การรวมประเทศเยอรมัน
      - ประเทศเยอรมัน 1990 ถึงปัจจุบัน
      - ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
      9
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • C3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียน การสอน
      -นักศึกษาเสนอรายงานที่ได้เตรียมมา
      - ถาม-ตอบเมื่อรายงานจบ
      - บรรยายเพิ่มเติมโดยผู้สอน
      สื่อการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      - Power point
      Google Classroom
      ในห้องเรียน/ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      7-9 บทที่ 3 เศรษฐกิจและสังคม
      - ลักษณะเศรษฐกิจเยอรมัน
      - การอุตสาหกรรม
      - ระบบประกันสังคมและสุขภาพ
      - การจัดการสิ่งแวดล้อม
      9
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • C3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียน การสอน
      -นักศึกษาเสนอรายงานที่ได้เตรียมมา
      - ถาม-ตอบเมื่อรายงานจบ
      - บรรยายเพิ่มเติมโดยผู้สอน
      สื่อการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      - Power point
      Google Classroom
      ในห้องเรียน/ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      10-11 บทที่ 4 การศึกษาและการวิจัย
      - ระบบการศึกษาเยอรมัน
      - การวิจัยในเยอรมัน
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • C3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียน การสอน
      -นักศึกษาเสนอรายงานที่ได้เตรียมมา
      - ถาม-ตอบเมื่อรายงานจบ
      - บรรยายเพิ่มเติมโดยผู้สอน
      สื่อการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      - Power point
      Google Classroom
      ในห้องเรียน/ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      12-13 บทที่ 5 สื่อมวลชน
      - อิสรภาพทางสื่อ
      - สื่อต่าง ๆ อาทิหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุและ Internet
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • C3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียน การสอน
      -นักศึกษาเสนอรายงานที่ได้เตรียมมา
      - ถาม-ตอบเมื่อรายงานจบ
      - บรรยายเพิ่มเติมโดยผู้สอน
      สื่อการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      - Power point
      Google Classroom
      ในห้องเรียน/ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      14 บทที่ 6 วัฒนธรรมเยอรมันและการดำเนินชีวิต
      - เทศกาลและประเพณี
      - วรรณกรรมและปรัชญา
      - รูปแบบการดำรงชีวิต/วิธีคิด
      - การใช้เวลาว่างของชาวเยอรมัน
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • C3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียน การสอน
      - นักศึกษาเสนอรายงานที่ได้เตรียมมา
      - ถาม-ตอบเมื่อรายงานจบ
      - ให้ผู้เรียนที่มีประสบการณ์ในเยอรมันแสดงความคิดเห็น
      วิจารณ์ เล่าประสบการส่วนตัว
      - บรรยายเพิ่มเติมโดยผู้สอน
      - มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัดเป็นการบ้าน
      สื่อการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      - Power point
      -แบบฝึกหัด
      Google Classroom
      ในห้องเรียน/ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      15 สรุปความรู้ 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • C3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      กิจกรรมการเรียน การสอน
      -นักศึกษาเสนอรายงานที่ได้เตรียมมา
      - ถาม-ตอบเมื่อรายงานจบ
      - บรรยายเพิ่มเติมโดยผู้สอน
      สื่อการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      - Power point
      Google Classroom
      ในห้องเรียน/ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม
      และร่วมกิจกรรม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • A3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      10
      การนำเสนอผลงานหน้าชั้น
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • A3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      20
      รายงานผลการค้นคว้า 1 ฉบับ
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • A3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      20
      สอบกลางภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • A3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      20
      สอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมัน ตลอดจน ลักษณะทั่วไปของชาวเยอรมัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และเปรียบเทียบความรู้กับบริบทของไทยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S2: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาเยอรมันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การประกันสังคม การศึกษา วัฒนธรรมเยอรมันได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมเยอรมัน
      • A3: ภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      30
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      เอกสารประกอบการสอน วัสสมิลล์ วัชระกวีศิลป์ (2561) เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 409 321 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (เอกสารอัดสำเนา) อาจารย์ภายในคณะ
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.tatsachenueberdeutschland.de
      www.bangkok.diplo.de
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้ ดังนี้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
      2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
      2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

      3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
      4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

      5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
      5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ