Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
Japanese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS323105
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาญี่ปุ่น 5
ภาษาอังกฤษ
English name
JAPANESE V
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS322104#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    ทักษะ
    Skills
    • เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานเป็นกลุ่ม
    • นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างทางภาษาญี่ปุ่นระดับสูงขั้นต้น ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อใช้ในวัตถุประสงค์เฉพาะด้าน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Vocabulary, expressions, structures in the Japanese pre advanced level, Skills of listening, speaking, reading and writing for special purposes
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชา แจ้งข้อตกลงเบื้องต้นในการประเมินรายวิชา และทำแบบทดสอบภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงเพื่อประเมินก่อนเข้าเรียน 3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่ออธิบายเนื้อหารายวิชา แนะนำขั้นตอนการเรียนการสอน แนะนำเว็บไซค์ที่จะใช้ในการสอน
    (2) ให้นักศึกษาทำบททดสอบความรู้พื้นฐานก่อนเรียนในรายวิชา ผ่านแบบสำรวจ Google Form และให้นักศึกษาแนะนำตัวเป็นภาษาญี่ปุ่นเป็นรายบุคคล
    (3) ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนการสอน

    2 บทที่ 1 สำนวนการเปรียบเทียบ 3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานเป็นกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 1 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ในระบบตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 1และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 1 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 1 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “สีกับจินตนาการ” ซักถามความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง ให้นักศึกษาจับคู่กันเขียนความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และส่งงาน
    3 ไวยากรณ์บทที่ 2
    - สำนวนการเปรียบเหมือน
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 2 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 2 และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 2 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 2 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “การเล่นเป่ายิ้งชุบของแต่ละประเทศ” ซักถามความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง ให้นักศึกษาจับคู่กันเขียนความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และส่งงานตามเวลาที่กำหนด
    4 ไวยากรณ์บทที่ 3
    - สำนวนการบอกระดับของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 3 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 3ก่อนเข้าเรียนผ่านโปรแกรม Zoom และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 3 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบท ตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 3 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “ที่จอดรถที่ไม่สะดวก” ซักถามความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง และให้นักศึกษาจับคู่กันเขียนความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ตามเวลาที่กำหนด

    5 ไวยากรณ์บทที่ 4
    - สำนวนการกล่าวถึงในทางตรงกันข้าม

    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 4 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 4 และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 4 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้าย ตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 4 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “การประกาศแจ้งเตือนและความมีน้ำใจ” ซักถามความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง และให้นักศึกษาจับคู่กันเขียนความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ตามเวลาที่กำหนด
    6 ไวยากรณ์บทที่ 5
    - สำนวนการรายงานเรื่องที่ได้ยินมา
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 5 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 5 และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 5 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบท ตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 5 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “ไทม์แคปซูล” ซักถามความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง และให้นักศึกษาจับคู่กันเขียนความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และส่งงานผ่านตามเวลาที่กำหนด
    7 ไวยากรณ์บทที่ 6
    - สำนวนการแสดงการเชื่อมต่อของช่วงเวลา
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 6 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 6 ก่อนเข้าเรียนผ่านโปรแกรม Zoom และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 6 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบท ตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 6 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “รถอัตโนมัติในอนาคต” และให้นักศึกษาอภิปราย ซักถาม หรือแสดงความเห็นเป็นภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวกับหัวข้อที่อ่านในชั่วโมงเรียน
    8 ไวยากรณ์บทที่ 7
    - สำนวนการคาดคะเน
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 7 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 7 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทใ ตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 7 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “สถิติการท้าทาย” และให้นักศึกษาอภิปราย ซักถาม หรือแสดงความเห็นเป็นภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวกับหัวข้อที่อ่านในชั่วโมงเรียน
    9 ไวยากรณ์บทที่ 8
    - สำนวนการแสดงความคาดหวัง
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 8 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 8 และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 8 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบท ตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 8 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “หมอดูที่ดูแม่น 100 %” และให้นักศึกษาอภิปราย ซักถาม หรือแสดงความเห็นเป็นภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวกับหัวข้อที่อ่านในชั่วโมงเรียน
    10 ไวยากรณ์บทที่ 9
    - สำนวนการแสดงเหตุและผลที่ตามมา (1)
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษา เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 9 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 9 และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 9 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบท ตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 9 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “แรงบรรดาลใจ” และให้นักศึกษาอภิปราย ซักถาม หรือแสดงความเห็นเป็นภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวกับหัวข้อที่อ่านในชั่วโมงเรียน
    11 ไวยากรณ์บทที่ 10
    - สำนวนแสดงเหตุและผลที่ตามมา (2)
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) พบนักศึกษาในห้องเรียน เพื่อแนะนำคำศัพท์ประจำบทที่ 10 ให้นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบทบทวนคำศัพท์ ตามเวลาที่กำหนด
    (2) นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบการสอน บทที่ 10 และจะหลังจากฟังการบรรยายเนื้อหาไวยากรณ์บทที่ 10 แล้ว ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบท ตามเวลาที่กำหนด
    (3) ให้นักศึกษาเข้าเว็บไซค์ http://kakijun.com/ ค้นหาลำดับการเขียน การอ่านออกเสียง ความหมายของคันจิที่ปรากฎในบทที่ 10 ด้วยตนเอง
    (4) ให้นักศึกษาอ่านบทความขนาดยาวเรื่อง “ช่วยไม่ได้” อภิปราย ซักถาม หรือแสดงความเห็นเป็นภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวกับหัวข้อที่อ่านในชั่วโมงเรียน
    12-13 อ่านบทความขนาดยาวที่มีบริบททางวัฒนธรรม และให้เขียนอภิปรายและนำเสนอเป็นรายกลุ่ม 6
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    • C3: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
    (1) อ่านบทความที่มีเนื้อหายาว
    (2) แบ่งกลุ่มอภิปรายเป็นรายกลุ่ม
    (3) นำเสนอข้อสรุปของกลุ่ม โดยนำเสนอเป็นภาษาญี่ปุ่น
    14-15 อ่านบทความขนาดยาวที่มีบริบททางวัฒนธรรม และให้เขียนอภิปรายและนำเสนอเป็นรายกลุ่ม 6
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
    (1) อ่านบทความที่มีเนื้อหายาว
    (2) แบ่งกลุ่มอภิปรายเป็นรายกลุ่ม
    (3) นำเสนอข้อสรุปของกลุ่ม โดยนำเสนอเป็นภาษาญี่ปุ่น
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าเรียนในและการมีส่วนร่วมในการตอบคำถามในชั้นเรียน
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    10 นักศึกษาเข้าเรียนและมีส่วนร่วมมากกว่า 80%
    การเตรียมความพร้อมตัวอักษรคันจิด้วยตนเอง และการสอบคำศํพท์ คันจิ
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    10
    การสอบกลางภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    30
    การสอบปลายภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    30
    การนำเสนองานกลุ่ม
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • K2: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการเขียน การอ่าน รวมไปถึงความหมายของตัวอักษรคันจิในระดับสูง
    • K3: เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจบริบททางวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ปรากฎในบทเรียน
    • S1: เพิ่อให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
    • S3: เพื่อให้นักศึกษาเขียนและอ่านออกเสียงตัวอักษรคันจิระดับสูงได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    20 การนำเสนองานในสัปดาห์ที่ 12-15

    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา รัชนี ปิยะธำรงชัย. (2562). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา HS322003. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    มหาวิทยาลัยขอนแก่น
    หนังสือ หรือ ตำรา TOMOMATSU Etsuko & WAKURI Masako. (2007). Chuukyuu Nihongo Bunpou Youten Seiri Pointo 20. Tokyo: 3A Corporation
    หนังสือ หรือ ตำรา โคยามะ, ซาโตรุ.(2550). J bride พลิกสูตรการสื่อสารภาษาญี่ปุ่น.กรุงเทพฯ
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.kakijun.com
    หนังสือ หรือ ตำรา Oyanagi Noboru. (2002). New Approach Japanese Intermediate Course. Nihongo Kenkyusha
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. คุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
    2. ความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
    3. ทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ