Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
Japanese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS324905
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยว
ภาษาอังกฤษ
English name
Japanese for Tourism
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS323106#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ภัทรา ภมรศิลปธรรม
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ภัทรา ภมรศิลปธรรม
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้เข้าใจคำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษาญี่ปุ่นที่ใช้เพื่อการท่องเที่ยว
    • มีความรู้ความเข้าใจภาพรวมเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ประเพณีวัฒนธรรมในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • สามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นด้านความรู้ทางด้านการเมือง ศิลป วัฒนธรรม
      • สามารถลดความขัดแย้ง และช่องว่างของความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      • ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับงานมัคคุเทศก์ได้อย่างเหมาะสม
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ
      • มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
      • มีความยืดหยุ่น และแก้ปัญหาได้ฉับไว
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      คำศัพท์ สำนวน ประโยคภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว หลักการและจรรยาบรรณของมัคคุเทศก์
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Vocabulary, expressions, sentences in Japanese language for tourism, principles and ethics of guides
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Online learning
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Content and language integrated learning
      • Project-based learning
      • Flipped classroom
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 - สังเขปรายวิชา
      - ความสำคัญของอาชีพมัคคุเทศก์
      - บทบาทหน้าที่ จรรยาบรรณ คุณสมบัติของมัคคุเทศก์
      6
        - ชี้แจงจุดประสงค์รายวิชา ทำข้อตกลงและนัดหมายกับผู้เรียนการส่งงานเขียน/ KKU E-learning และ Google Classroom
        - แบ่งกลุ่มนำเสนอและอภิปรายเกี่ยวกับความสำคัญ บทบาทและจรรยาบรรณของมัคคุเทศก์/ KKU
        E-learning และ Google Classroom
        3-5 - การกล่าวต้อนรับ การ อธิบายการเดินทาง การท่องเที่ยว
        - การอธิบายเกี่ยวกับประเทศไทย
        9
        • K1: มีความรู้เข้าใจคำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษาญี่ปุ่นที่ใช้เพื่อการท่องเที่ยว
        • S1: สามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นด้านความรู้ทางด้านการเมือง ศิลป วัฒนธรรม
        • C1: มีความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ
        • C2: มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
        - วิเคราะห์ระดับการใช้รูปสุภาพ (Keigo)
        - เรียนรู้รูปแบบโครงสร้างของไวยากรณ์ คำศัพท์ที่ใช้ในการท่องเที่ยว / KKU E-learning และ Google Classroom
        7-8 - การอธิบายเกี่ยวกับอัตราการแลกเงิน
        - การอธิบายเกี่ยวกับวิถีชีวิตคนไทย
        6
        • K2: มีความรู้ความเข้าใจภาพรวมเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ประเพณีวัฒนธรรมในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
        • S2: สามารถลดความขัดแย้ง และช่องว่างของความแตกต่างทางวัฒนธรรม
        • C1: มีความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ
        • C2: มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
        - ผู้เรียนแบ่งกลุ่มค้นคว้าเกี่ยวกับวิถีชีวิตคนไทยโดยทั่วไป และวิถีชีวิตคนแถบลุ่มน้ำโขง
        - เรียนรู้รูปแบบโครงสร้างของไวยากรณ์ คำศัพท์ที่เกี่ยวกับการแลกเงิน และวิถีชีวิต/ KKU
        E-learning และ Google Classroom
        8-10 - ศิลปวัฒธรรมแถบลุ่มน้ำโขง
        - การอธิบายเกี่ยวกับวัด
        - ปราสาทหินพนมรุ้ง
        9
        • K2: มีความรู้ความเข้าใจภาพรวมเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ประเพณีวัฒนธรรมในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
        • S2: สามารถลดความขัดแย้ง และช่องว่างของความแตกต่างทางวัฒนธรรม
        • C1: มีความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ
        • C2: มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
        - เรียนรู้และวิเคราะห์ศิลปวัฒนธรรมแถบลุ่มน้ำโขง
        - เรียนรู้รูปแบบโครงสร้างของไวยากรณ์ คำศัพท์ที่เกี่ยวกับศิลปะ/ KKU E-learning และ Google Classroom
        11-12 - การอธิบายสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ
        - งานประเพณีต่างๆ
        - การส่งนักท่องเที่ยว (Transfer out)
        6
        • K2: มีความรู้ความเข้าใจภาพรวมเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ประเพณีวัฒนธรรมในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
        • S2: สามารถลดความขัดแย้ง และช่องว่างของความแตกต่างทางวัฒนธรรม
        • C1: มีความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ
        • C2: มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
        - เรียนรู้วิธีการแนะนำสถานที่ท่องเที่ยว และงานประเพณีที่สำคัญ/ KKU E-learning และ Google Classroom
        13-15 - เสนอหัวข้อท่องเที่ยว 9
        • K2: มีความรู้ความเข้าใจภาพรวมเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ประเพณีวัฒนธรรมในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
        • S1: สามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นด้านความรู้ทางด้านการเมือง ศิลป วัฒนธรรม
        • S2: สามารถลดความขัดแย้ง และช่องว่างของความแตกต่างทางวัฒนธรรม
        • S3: ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับงานมัคคุเทศก์ได้อย่างเหมาะสม
        • C1: มีความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ
        • C2: มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
        - ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม เลือกสถานที่ท่องเที่ยวที่ผู้เรียนสนใจ จัดแผนการท่องเที่ยว พร้อมทั้งนำเสนอสถานที่ท่องเที่ยวเป็นภาษาญี่ปุ่น/ KKU E-learning และ Google Classroom
        รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
        8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
             Course assessment
        วิธีการประเมิน
        Assessment Method
        CLO สัดส่วนคะแนน
        Score breakdown
        หมายเหตุ
        Note
        แบบฝึกหัด
        • K1: มีความรู้เข้าใจคำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษาญี่ปุ่นที่ใช้เพื่อการท่องเที่ยว
        • S1: สามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นด้านความรู้ทางด้านการเมือง ศิลป วัฒนธรรม
        10
        สอบปากเปล่า
        • K1: มีความรู้เข้าใจคำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษาญี่ปุ่นที่ใช้เพื่อการท่องเที่ยว
        • S1: สามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นด้านความรู้ทางด้านการเมือง ศิลป วัฒนธรรม
        20 สอบ 2 ครั้ง ครั้งละ 10 คะแนน
        การแนะนำสถานที่
        • K2: มีความรู้ความเข้าใจภาพรวมเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ประเพณีวัฒนธรรมในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
        • S2: สามารถลดความขัดแย้ง และช่องว่างของความแตกต่างทางวัฒนธรรม
        • S3: ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับงานมัคคุเทศก์ได้อย่างเหมาะสม
        20
        สอบกลางภาค
        • K1: มีความรู้เข้าใจคำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษาญี่ปุ่นที่ใช้เพื่อการท่องเที่ยว
        • S1: สามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นด้านความรู้ทางด้านการเมือง ศิลป วัฒนธรรม
        25
        สอบปลายภาค
        • K2: มีความรู้ความเข้าใจภาพรวมเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ประเพณีวัฒนธรรมในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
        • S2: สามารถลดความขัดแย้ง และช่องว่างของความแตกต่างทางวัฒนธรรม
        • S3: ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับงานมัคคุเทศก์ได้อย่างเหมาะสม
        25
        สัดส่วนคะแนนรวม 100
        9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
             Textbook and instructional materials
        ประเภทตำรา
        Type
        รายละเอียด
        Description
        ประเภทผู้แต่ง
        Author
        ไฟล์
        File
        หนังสือ หรือ ตำรา ภัทรา ภมรศิลปธรรม. (2563). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา HS322211 การอ่านและการเขียนภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
        หนังสือ หรือ ตำรา Research Institute for Japanese Language Education. (2004). Dokkai wo Hajimeruanata e.Tokyo. Bonjisha
        หนังสือ หรือ ตำรา 高橋慈子. (2018). 技術者のためのテクニカルライティング入門講座. 株式会社 翔泳社. 株式会社 翔泳社 加藤文明者印刷所: Japan
        หนังสือ หรือ ตำรา 高橋 俊一. (2011). すっきり!わかりやすい!文章が書ける. 株式会社すばる舎.中央精版株式会社: Japan
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://anime-manga.jp/
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://nihongo-e-na.com
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://nihongo-e-na.com
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://momo.jpf.go.jp/sushi/
        10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
             Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
        การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
        Evaluation of course effectiveness and validation
        • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
        • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
        การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
        Improving Course instruction and effectiveness
        • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
        • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
        ผลการเรียนรู้
        Curriculum mapping
        1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

        1. คุณธรรมและจริยธรรม
        1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
        1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
        1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
        1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
        2. ความรู้
        2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
        2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
        2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
        2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
        3. ทักษะทางปัญญา
        3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
        3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
        4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
        4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
        4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
        4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
        4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
        5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
        5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
        5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
        5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ