Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
Japanese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS324903
ภาษาไทย
Thai name
การล่ามภาษาญี่ปุ่น
ภาษาอังกฤษ
English name
Japanese Interpretation
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS323106#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พราวพรรณ พลบุญ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พราวพรรณ พลบุญ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      เทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม การแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่าจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Interpretation techniques and ethics, interpretation of formal and informal conversations, speeches, and oral discussions from Japanese into Thai and from Thai into Japanese
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Task-based learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 - แนะนำการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
      - เทคนิคการเป็นล่าม
      - จรรยาบรรณของล่าม
      6
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน
      (2) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (Clip 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการล่าม Clip 2 เทคนิคการเป็นล่าม Clip 3 จรรยาบรรณของล่าม)
      (3) นักศึกษาอภิปราย ร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 Discussion Forums หัวข้อ “การล่ามที่ดีมีลักษณะอย่างไร”
      (4) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนตอนที่ 1 และทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ การล่าม เทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม ส่งงานผ่านระบบ KKU e-Learning
      (5) นักศึกษาทำแบบฝึกหัด จับคู่บันทึกการแปลและแลกเปลี่ยนเพื่อแก้ไขงานแปลให้กับคู่ของตน (online)
      (6) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรมZoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับปัญหาการล่ามและหลักการล่ามที่นักศึกษาใช้ในการล่าม สรุปความหมายการล่ามและหลักการล่ามเบื้องต้นร่วมกัน รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาการล่าม
      3-5 - การแปลบทสนทนา จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย 9
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      (1) นักศึกษาเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ หลักการและวิธีการแปลบทสนทนาจากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นและภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      (2) ทำแบบทดสอบย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลบทสนทนา
      (3) ทำแบบฝึกหัดแปลบทสนทนา(อัดเป็นคลิปเสียง)
      (4) จับคู่และให้แก้ไขข้อผิดพลาดในการแปลพร้อมให้ข้อเสนอแนะกับเพื่อนในการพัฒนางานแปล (online)
      (5) ปรับบทแปลให้เป็นบทแปลที่ถูกต้องและเหมาะสม ส่งงานใน หัวข้อที่ 2 ใน KKU e-Learning
      (6) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ หลักการแปลบทสนทนา และการแก้ไขงานแปล รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการแปลในแบบฝึกหัดแปล และการมอบหมายโครงงานการล่ามระหว่างคนไทยและคนญี่ปุ่น
      (7) แบบทดสอบย่อยการแปลบทสนทนา
      6-8 - การแปลการพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการ จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย 9
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      (1) นักศึกษาเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ หลักการและวิธีการแปลการพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการจากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นและภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      (2) นักศึกษาอภิปรายร่วมกันในหัวข้อ “การแปลแบบพูดพร้อมกับการแปลสลับ”
      (3) ทำแบบทดสอบย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลการพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการ
      (4) และทำแบบฝึกหัดแปลการพูดในพิธีกรอย่างเป็นทางการ(อัดเป็นคลิปเสียง)
      (5) จับคู่และให้แก้ไขข้อผิดพลาดในการแปลพร้อมให้ข้อเสนอแนะกับเพื่อนในการพัฒนางานแปล (online)
      (6) ปรับบทแปลให้เป็นบทแปลที่ถูกต้องและเหมาะสม ส่งงานใน หัวข้อที่ 3 ใน KKU e-Learning
      (7) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ หลักการแปลการพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการ และการแก้ไขงานแปล รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการแปลในแบบฝึกหัดแปล
      (8) แบบทดสอบย่อยการแปลการพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการ

      9-11 - การแปลการพูดในพิธีการอย่างไม่เป็นทางการ จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย 9
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      (1) นักศึกษาเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ หลักการและวิธีการแปลการพูดในพิธีการอย่างไม่เป็นทางการจากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นและภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      (2) ทำแบบทดสอบย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลการพูดในพิธีการอย่างไม่เป็นทางการ
      (3) และทำแบบฝึกหัดแปลการพูดในพิธีการอย่างไม่เป็นทางการ(อัดเป็นคลิปเสียง)
      (4) จับคู่และให้แก้ไขข้อผิดพลาดในการแปลพร้อมให้ข้อเสนอแนะกับเพื่อนในการพัฒนางานแปล (online)
      (5) ปรับบทแปลให้เป็นบทแปลที่ถูกต้องและเหมาะสม ส่งงานใน หัวข้อที่ 4 ใน KKU e-Learning
      (6) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ หลักการแปลบทสนทนา และการแก้ไขงานแปล รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการแปลในแบบฝึกหัดแปล
      (7) แบบทดสอบย่อยการแปลการพูดในพิธีการอย่างไม่เป็นทางการ

      12-15 - การแปลการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย 12
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • C2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      (1) นักศึกษาเข้าฟังคลิปบรรยาย หัวข้อ หลักการและวิธีการแปลการอภิปรายปากเปล่าจากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นและภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      (2) ทำแบบทดสอบย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลการอภิปรายปากเปล่า
      (3) และทำแบบฝึกหัดแปลการอภิปรายปากเปล่า(อัดเป็นคลิปเสียง)
      (4) จับคู่และให้แก้ไขข้อผิดพลาดในการแปลพร้อมให้ข้อเสนอแนะกับเพื่อนในการพัฒนางานแปล (online)
      (5) ปรับบทแปลให้เป็นบทแปลที่ถูกต้องและเหมาะสม ส่งงานใน หัวข้อที่ 5 ใน KKU e-Learning
      (6) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ หลักการแปลบทสนทนา และการแก้ไขงานแปล รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการแปลในแบบฝึกหัดแปล
      (7) แบบทดสอบย่อยการแปลการอภิปรายปากเปล่า
      (8) นำเสนอโครงงานออนไลน์

      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      แบบฝึกหัด
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • A2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      20 Online
      สัปดาห์ที่ 1-15
      แบบทดสอบย่อย
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • A2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      40 Online
      สัปดาห์ที่ 3-15
      โครงงาน
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      • A2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมเพื่อการแปล (R3C)
      20 Online
      สัปดาห์ที่ 5 และ 15
      สอบปลายภาค
      • S1: สามารถแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
      • S2: สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้คำได้ถูกต้องตรงตามสถานที่ บุคคล
      20 Online
      ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา พราวพรรณ พลบุญ.(2565). เอกสารประกอบการสอน วิชา HS324603 ภาษาญี่ปุ่นสำหรับล่าม.ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา บุษบา บรรจงมณี.2549.ทางลัดสู่ล่าม.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม
      หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล พราวพรรณ พลบุญ.(2565).รวมศัพท์ฉบับล่าม.ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      1. คุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
      2. ความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
      2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
      3. ทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
      4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
      5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ