รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2562
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1. แนะนำรายวิชา ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเบื้องต้น |
3 |
|
กิจกรรม: -อธิบาย ซักถาม และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายละเอียดของเนื้อหารายวิชา สื่อ -เอกสาร -power point วิธีการประเมิน การอภิปรายแสดงความคิดเห็น -การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
2 | ความหมาย ประเภทของงานวิจัย และตัวอย่างงานวิจัยในเชิงภาษา | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ -เอกสาร -power point วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
3 | การเลือกหัวข้อวิจัย กำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย ตั้งวัตถุประสงค์และคำถามในการวิจัย | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
4 | การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
5 |
การกำหนด ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ประเภทต่างๆ |
3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
6 | เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประเภทต่างๆ | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
7 |
การเก็บรวบรวมข้อมูล ลักษณะ ของข้อมูล ประเภท ของการเก็บข้อมูลประเภทต่างๆ |
3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
8 | Midterm Examination |
|
|||
9 | การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ประเภทต่างๆของข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์ทางสถิติ โครงสร้างการคำนวนทางสถิติ และสถิติอ้างอิง | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
10 | การจัดการข้อมูลในโปรแกรม SPASS | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
11 | การจัดการข้อมูลในโปรแกรม SPASS | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
12 | การวิเคราะห์ข้อมูลและแปรผลข้อมูลในโปรแกรม SPASS | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
13 | การวิเคราะห์ข้อมูลในโปรแกรม SPASS และแปรผลจากงานวิจัยที่พบทางภาษา | 3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
14 |
Mini - project for oral presentation สรุปการเรียนรู้ |
3 |
|
กิจกรรม - บรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - ตัวอย่าง -แบบฝึกหัด สื่อ - เอกสาร PowerPoint วิธีการประเมิน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -การสังเกต |
|
15 | Final Examination |
|
|||
รวมจำนวนชั่วโมง | 39 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าห้องเรียน |
|
5 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
Mini project |
|
40 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
ASSIGMENTS |
|
30 | สัปดาห์ที่ 7 และ 14 |
สอบปลายภาค |
|
25 | ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | Brown, J. D. & Rodgers, T. (2002). Doing second language research. Oxford: Oxford University Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Creswell, J. W. & Clark, V. (2007). Designing and conducting mixed methods research. Thousand Oaks, CA: Sage Publication. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Creswell, J. W. (2003). Research design: Qualitative quantitative and mixed methods approaches. 2nd ed. Thousand Oaks, CA: sage Publication. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Nunan, D. (2002). Research methods in language learning. Cambridge: Cambridge University Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | American Psychological Association. (2010). Publication manual. Washington, DC: APA. Mackey, A. & Susan M | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Gass, S. M. (2005). Second language research: Methodology and design. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates, Inc. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Tarone, E., Gass, S. M., & Cohen, A. D. (1994). Research methodology in second-language acquisition. Michigan: Lawrence Erlbaum Associates, Inc. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Hinkel, E. (2013). Handbook of research in second language teaching and learning. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates, Inc. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Richards, K. (2003). Qualitative inquiry in TESOL. London: Palgrave Macmillan. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ
1.2 มีความประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิตสาธารณะ
มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สำคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสาคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้