Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS111001
ภาษาไทย
Thai name
การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
ภาษาอังกฤษ
English name
English Reading Comprehension
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • อาจารย์กิตติชัย นิลอุบล
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • อาจารย์กิตติชัย นิลอุบล
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิภาวิน ศุภวัฒน์ ศรีใคร
  • อาจารย์อานนท์ จานนอก
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวประเภทของการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่าน
  • นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงโดยสามารถนำทฤษฏีไปใช้กับการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนในการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่าน สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไป ปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
  • นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
จริยธรรม
Ethics
  • นักศึกษาแสดงออกถึงความเป็นผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
  • นักศึกษาแสดงออกถึงการมีวินัย มีความตรงต่อเวลา มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
ทักษะ
Skills
  • นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
  • นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญใน การสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
  • นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
  • นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
ลักษณะบุคคล
Character
  • นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
  • นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
  • นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
  • นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงและต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
องค์ประกอบบทอ่าน โครงสร้างในตัวบทอ่าน กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การ
อ่าน การอ่านเร็ว การอ่านเพื่อจับใจความหลักและใจความรอง การสร้างคำศัพท์
การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี
ภาษาอังกฤษ
English
Reading components, text structures, reading processes, reading
strategies, rapid reading, reading for main ideas and supporting details,
general and content vocabulary building, reading fiction, reading nonfiction
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
  • Online learning
  • Blended learning
  • อาจารย์ผู้สอนร่วมสามารถเลือกรูปแบบการสอนได้ตามความเหมาะสม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Task-based learning
  • Project-based learning
  • Flipped classroom
  • Skill-based learning, Learning by doing
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1-3 -Introduction to the course
-Familiar with Reading Material
-Analysing text types
-Analysing main ideas and supporting details
-Analysing authors’ purposes
-Analysing the reading process
-Using prior knowledge
Chapter 1
o r-controlled vowels
o Using a dictionary
o Identifying cause and effect
o Present perfect to connect the past to the present
o Showing different possibilities or choices
Chapter 2
o Schwa in unstressed syllables
o Using vocabulary note cards
o Summarizing ideas
o Adjective clauses with where and if to talk about possibilities
-Reading fluency
-Reading accuracy
-Reading with metacognition
-Reading to learn

9
  • K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวประเภทของการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่าน
  • K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงโดยสามารถนำทฤษฏีไปใช้กับการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนในการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่าน สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไป ปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
  • S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญใน การสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
  • S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
  • C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
  • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
  • C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
Procedure
1. Warm-up (10 minutes): Begin the class with a short warm-up activity to engage the students (SS) and activate their prior knowledge. For example, teacher (T) could ask SS to share their favorite book or ask questions related to the topic.
2. Introduction (10 minutes): Introduce the topic and learning objective of the lesson. Briefly explain the importance of reading comprehension and how it helps in understanding and enjoying texts.
3. Before Reading Activity (15 minutes): Conduct a pre-reading activity to prepare SS for the upcoming text. It could involve showing related images or asking SS to brainstorm ideas or predictions about the text based on its title or any provided headings. Online games such as Kahoot, Mentimeter, Padlet, or Quizziz can be used in activating SS’s background Knowledge.
4. During Reading (20 minutes): Assign a specific passage or section from TRIO Reading 3 for the SS to read individually or in pairs. Encourage active reading by asking them to underline or highlight important information, unknown words, or interesting phrases. More importantly, reading strategies provided in the text should be emphasized and pinpointed their crucial roles in the reading.
5. Vocabulary Exploration (10 minutes): After the reading, focus on any challenging vocabulary words from the text. Write them on the board or show them on the projector screen and facilitate a discussion to ensure SS understand their meanings. T can provide definitions, use them in sentences, or ask students to provide context-based definitions.
6. Comprehension Questions (15 minutes): Prepare a set of comprehension questions related to the reading passage. Distribute the questions or write them on the board or show them on the projector screen. Have SS answer the questions individually or in pairs. Discuss the answers as a class, encouraging SS to provide explanations and supporting evidence from the text.
7. Critical Thinking (10 minutes): Engage SS in critical thinking by asking open-ended questions related to the text. Encourage them to express their opinions, make connections to real-life situations, or imagine alternative outcomes. This promotes deeper understanding and analysis of the text.
8. Extension Activity (10 minutes): To reinforce the learning, assign an extension activity. It could be a writing task, such as summarizing the passage, creating a new ending, or writing a short response. Alternatively, T can have SS engage in a group discussion, role-play, or presentation related to the text.
9. Wrap-up and Review (5 minutes): Recap the key points covered in the lesson. Encourage SS to reflect on what they have learned and how it can be applied to future reading activities. Provide positive feedback and address any questions or concerns.
10. Homework Assignment (if applicable): Assign appropriate homework, such as reading another passage from TRIO Reading 3, completing a worksheet, or writing a journal entry about their reading experience.

Teaching Materials
- PowerPoint Presentation
-TRIO Reading 3 texts
- Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
- Extensive reading
- Online games
- Online learning platforms

Teaching channels
-KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
-Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
-Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Zoom (Synchronous learning tool)


4-6 -Analysing text types
-Analysing authors’ purposes
-Analysing main ideas and supporting details
-Analysing reading process
-Using prior knowledge
Chapter 3
o gh as /f/ or as silent
o collocation
o skimming for information and answer
o Quoted speech

Chapter 4
o Noticing spelling patterns for long vowels
o Word family
o Understanding bar graphs
o Adjective clauses after objects and subjects
-Reading fluency
-Reading accuracy
-Reading with metacognition
-Reading to learn

9
  • K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวประเภทของการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่าน
  • K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงโดยสามารถนำทฤษฏีไปใช้กับการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนในการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่าน สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไป ปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
  • K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
  • S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญใน การสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
  • S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
  • S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
  • C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
  • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
  • C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
  • C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงและต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
Procedure
1. Warm-up (10 minutes): Begin the class with a short warm-up activity to engage the students (SS) and activate their prior knowledge. For example, teacher (T) could ask SS to share their favorite book or ask questions related to the topic.
2. Introduction (10 minutes): Introduce the topic and learning objective of the lesson. Briefly explain the importance of reading comprehension and how it helps in understanding and enjoying texts.
3. Before Reading Activity (15 minutes): Conduct a pre-reading activity to prepare SS for the upcoming text. It could involve showing related images or asking SS to brainstorm ideas or predictions about the text based on its title or any provided headings. Online games such as Kahoot, Mentimeter, Padlet, or Quizziz can be used in activating SS’s background Knowledge.
4. During Reading (20 minutes): Assign a specific passage or section from TRIO Reading 3 for the SS to read individually or in pairs. Encourage active reading by asking them to underline or highlight important information, unknown words, or interesting phrases. More importantly, reading strategies provided in the text should be emphasized and pinpointed their crucial roles in the reading.
5. Vocabulary Exploration (10 minutes): After the reading, focus on any challenging vocabulary words from the text. Write them on the board or show them on the projector screen and facilitate a discussion to ensure SS understand their meanings. T can provide definitions, use them in sentences, or ask students to provide context-based definitions.
6. Comprehension Questions (15 minutes): Prepare a set of comprehension questions related to the reading passage. Distribute the questions or write them on the board or show them on the projector screen. Have SS answer the questions individually or in pairs. Discuss the answers as a class, encouraging SS to provide explanations and supporting evidence from the text.
7. Critical Thinking (10 minutes): Engage SS in critical thinking by asking open-ended questions related to the text. Encourage them to express their opinions, make connections to real-life situations, or imagine alternative outcomes. This promotes deeper understanding and analysis of the text.
8. Extension Activity (10 minutes): To reinforce the learning, assign an extension activity. It could be a writing task, such as summarizing the passage, creating a new ending, or writing a short response. Alternatively, T can have SS engage in a group discussion, role-play, or presentation related to the text.
9. Wrap-up and Review (5 minutes): Recap the key points covered in the lesson. Encourage SS to reflect on what they have learned and how it can be applied to future reading activities. Provide positive feedback and address any questions or concerns.
10. Homework Assignment (if applicable): Assign appropriate homework, such as reading another passage from TRIO Reading 3, completing a worksheet, or writing a journal entry about their reading experience.

Teaching Materials
- PowerPoint Presentation
-TRIO Reading 3 texts
- Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
- Extensive reading
- Online games
- Online learning platforms

Teaching channels
-KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
-Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
-Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Zoom (Synchronous learning tool)


7-9 Blended Familiar and Unfamiliar Reading Material A
-Analysing text types
-Analysing authors’ purposes
-Analysing reading process
-Using prior knowledge

Chapter 5
o Spelling patterns for the different sounds of t and t with other letters
o Understanding phrasal verbs
o Making inferences
o Present, present progressive, and present perfect
Chapter 6
o Spelling the /s/ sound with c
o Using negative prefixes
o Recognizing argument
o Using could, should, and will have to discuss possibility and argue a point
-Predicting content in the texts
-Guessing words from contexts
-Using dictionary
-Reading fluency
-Reading accuracy
-Reading with metacognition
-Reading to learn
9
  • K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
  • S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญใน การสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
  • S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
  • S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
  • C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
  • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
  • C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
  • C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงและต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
Procedure
1. Warm-up (10 minutes): Begin the class with a short warm-up activity to engage the students (SS) and activate their prior knowledge. For example, teacher (T) could ask SS to share their favorite book or ask questions related to the topic.
2. Introduction (10 minutes): Introduce the topic and learning objective of the lesson. Briefly explain the importance of reading comprehension and how it helps in understanding and enjoying texts.
3. Before Reading Activity (15 minutes): Conduct a pre-reading activity to prepare SS for the upcoming text. It could involve showing related images or asking SS to brainstorm ideas or predictions about the text based on its title or any provided headings. Online games such as Kahoot, Mentimeter, Padlet, or Quizziz can be used in activating SS’s background Knowledge.
4. During Reading (20 minutes): Assign a specific passage or section from TRIO Reading 3 for the SS to read individually or in pairs. Encourage active reading by asking them to underline or highlight important information, unknown words, or interesting phrases. More importantly, reading strategies provided in the text should be emphasized and pinpointed their crucial roles in the reading.
5. Vocabulary Exploration (10 minutes): After the reading, focus on any challenging vocabulary words from the text. Write them on the board or show them on the projector screen and facilitate a discussion to ensure SS understand their meanings. T can provide definitions, use them in sentences, or ask students to provide context-based definitions.
6. Comprehension Questions (15 minutes): Prepare a set of comprehension questions related to the reading passage. Distribute the questions or write them on the board or show them on the projector screen. Have SS answer the questions individually or in pairs. Discuss the answers as a class, encouraging SS to provide explanations and supporting evidence from the text.
7. Critical Thinking (10 minutes): Engage SS in critical thinking by asking open-ended questions related to the text. Encourage them to express their opinions, make connections to real-life situations, or imagine alternative outcomes. This promotes deeper understanding and analysis of the text.
8. Extension Activity (10 minutes): To reinforce the learning, assign an extension activity. It could be a writing task, such as summarizing the passage, creating a new ending, or writing a short response. Alternatively, T can have SS engage in a group discussion, role-play, or presentation related to the text.
9. Wrap-up and Review (5 minutes): Recap the key points covered in the lesson. Encourage SS to reflect on what they have learned and how it can be applied to future reading activities. Provide positive feedback and address any questions or concerns.
10. Homework Assignment (if applicable): Assign appropriate homework, such as reading another passage from TRIO Reading 3, completing a worksheet, or writing a journal entry about their reading experience.

Teaching Materials
- PowerPoint Presentation
-TRIO Reading 3 texts
- Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
- Extensive reading
- Online games
- Online learning platforms

Teaching channels
-KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
-Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
-Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Zoom (Synchronous learning tool)


10-12 -Analysing text types
-Analysing authors’ purposes
-Analyzing reading process
-Using prior knowledge
-Predicting content in the texts
-Guessing words from contexts
-Using dictionary
Chapter 7
o Consonant cluster
o Using context to predict word meaning
o Identifying examples
o Would and would be able to
Chapter 8
o Recognizing /y/
o Words with multiple meanings
o Compare and contrast
o Past perfect with so and because
-Reading fluency
-Reading accuracy
-Reading with metacognition
-Reading to learn


9
  • K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
  • S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
  • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
  • C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงและต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
Procedure
1. Warm-up (10 minutes): Begin the class with a short warm-up activity to engage the students (SS) and activate their prior knowledge. For example, teacher (T) could ask SS to share their favorite book or ask questions related to the topic.
2. Introduction (10 minutes): Introduce the topic and learning objective of the lesson. Briefly explain the importance of reading comprehension and how it helps in understanding and enjoying texts.
3. Before Reading Activity (15 minutes): Conduct a pre-reading activity to prepare SS for the upcoming text. It could involve showing related images or asking SS to brainstorm ideas or predictions about the text based on its title or any provided headings. Online games such as Kahoot, Mentimeter, Padlet, or Quizziz can be used in activating SS’s background Knowledge.
4. During Reading (20 minutes): Assign a specific passage or section from TRIO Reading 3 for the SS to read individually or in pairs. Encourage active reading by asking them to underline or highlight important information, unknown words, or interesting phrases. More importantly, reading strategies provided in the text should be emphasized and pinpointed their crucial roles in the reading.
5. Vocabulary Exploration (10 minutes): After the reading, focus on any challenging vocabulary words from the text. Write them on the board or show them on the projector screen and facilitate a discussion to ensure SS understand their meanings. T can provide definitions, use them in sentences, or ask students to provide context-based definitions.
6. Comprehension Questions (15 minutes): Prepare a set of comprehension questions related to the reading passage. Distribute the questions or write them on the board or show them on the projector screen. Have SS answer the questions individually or in pairs. Discuss the answers as a class, encouraging SS to provide explanations and supporting evidence from the text.
7. Critical Thinking (10 minutes): Engage SS in critical thinking by asking open-ended questions related to the text. Encourage them to express their opinions, make connections to real-life situations, or imagine alternative outcomes. This promotes deeper understanding and analysis of the text.
8. Extension Activity (10 minutes): To reinforce the learning, assign an extension activity. It could be a writing task, such as summarizing the passage, creating a new ending, or writing a short response. Alternatively, T can have SS engage in a group discussion, role-play, or presentation related to the text.
9. Wrap-up and Review (5 minutes): Recap the key points covered in the lesson. Encourage SS to reflect on what they have learned and how it can be applied to future reading activities. Provide positive feedback and address any questions or concerns.
10. Homework Assignment (if applicable): Assign appropriate homework, such as reading another passage from TRIO Reading 3, completing a worksheet, or writing a journal entry about their reading experience.

Teaching Materials
- PowerPoint Presentation
-TRIO Reading 3 texts
- Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
- Extensive reading
- Online games
- Online learning platforms

Teaching channels
-KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
-Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
-Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Zoom (Synchronous learning tool)


13-15 Unfamiliar Reading Material B
-Analysing text types
-Analysing authors’ purposes
-Analysing reading process
-Predicting content in the texts
-Guessing words from contexts
-Using dictionary
Chapter 9
o Two vowels can make one sound
o Understanding words that create cohesion
o Taking notes and mark the text
o Which and which means that; even though and even when
-Building new words and their family
-Reading fluency
-Reading accuracy
-Reading with matacognition
-Reading to learn
9
  • K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวประเภทของการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่าน
  • K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงโดยสามารถนำทฤษฏีไปใช้กับการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนในการอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่าน สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไป ปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
  • K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
  • S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญใน การสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
  • S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
  • S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
  • C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
  • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
  • C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
  • C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงและต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
Procedure
1. Warm-up (10 minutes): Begin the class with a short warm-up activity to engage the students (SS) and activate their prior knowledge. For example, teacher (T) could ask SS to share their favorite book or ask questions related to the topic.
2. Introduction (10 minutes): Introduce the topic and learning objective of the lesson. Briefly explain the importance of reading comprehension and how it helps in understanding and enjoying texts.
3. Before Reading Activity (15 minutes): Conduct a pre-reading activity to prepare SS for the upcoming text. It could involve showing related images or asking SS to brainstorm ideas or predictions about the text based on its title or any provided headings. Online games such as Kahoot, Mentimeter, Padlet, or Quizziz can be used in activating SS’s background Knowledge.
4. During Reading (20 minutes): Assign a specific passage or section from TRIO Reading 3 for the SS to read individually or in pairs. Encourage active reading by asking them to underline or highlight important information, unknown words, or interesting phrases. More importantly, reading strategies provided in the text should be emphasized and pinpointed their crucial roles in the reading.
5. Vocabulary Exploration (10 minutes): After the reading, focus on any challenging vocabulary words from the text. Write them on the board or show them on the projector screen and facilitate a discussion to ensure SS understand their meanings. T can provide definitions, use them in sentences, or ask students to provide context-based definitions.
6. Comprehension Questions (15 minutes): Prepare a set of comprehension questions related to the reading passage. Distribute the questions or write them on the board or show them on the projector screen. Have SS answer the questions individually or in pairs. Discuss the answers as a class, encouraging SS to provide explanations and supporting evidence from the text.
7. Critical Thinking (10 minutes): Engage SS in critical thinking by asking open-ended questions related to the text. Encourage them to express their opinions, make connections to real-life situations, or imagine alternative outcomes. This promotes deeper understanding and analysis of the text.
8. Extension Activity (10 minutes): To reinforce the learning, assign an extension activity. It could be a writing task, such as summarizing the passage, creating a new ending, or writing a short response. Alternatively, T can have SS engage in a group discussion, role-play, or presentation related to the text.
9. Wrap-up and Review (5 minutes): Recap the key points covered in the lesson. Encourage SS to reflect on what they have learned and how it can be applied to future reading activities. Provide positive feedback and address any questions or concerns.
10. Homework Assignment (if applicable): Assign appropriate homework, such as reading another passage from TRIO Reading 3, completing a worksheet, or writing a journal entry about their reading experience.

Teaching Materials
- PowerPoint Presentation
-TRIO Reading 3 texts
- Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
- Extensive reading
- Online games
- Online learning platforms

Teaching channels
-KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
-Online practice https://lms.oxfordlearn.com/d2l/home
-Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
-Zoom (Synchronous learning tool)


รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
Class Attendance
  • C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
5
Project
  • K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
  • S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
  • S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
20
Tasks
  • K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
10
Midterm test
  • K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
25
Final Test
  • K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบการสร้างคำศัพท์ การอ่านเร็ว กระบวนการอ่าน กลยุทธ์การอ่านของตนเองได้
25
Online practice
  • C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
  • C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสระ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
15
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา Woolley, G. (2011). Reading Comprehension Assisting Children with Learning Difficulties.Springer. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Reed, D. K., Stevenson, N., & LeBeau, B. C. (2019). Reading Comprehension Assessment: The Effects of Reading the Items Aloud Before or After Reading the Passage. The Elementary School Journal, 120(2), 300-318. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Kilpatrick, D., Joshi, R., and Wagner, R.(2019). Reading Development and Difficulties Bridging the Gap Between Research and Practice. SpringerLink. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Adam, K. (2020). Trio Reading 3. Oxford University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
  • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4

รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก

2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน

3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้

4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ