รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
(1) แนะนำรายวิชาและข้อตกลงเบื้องต้น (2) องค์ประกอบของการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน (2) นักศึกษาศึกษาโครงสร้างของเรียงความภาษาอังกฤษ (English Essay Structure) จา กเอกสารไฟล์ pdf (3) นักศึกษาดูคลิปบรรยายจาก YouTube คลิปที่ 1 หัวข้อ How To Write An Essay: Structure https://www.youtube.com/watch?v=6PnsKg7hkIo คลิปที่ 2 หัวข้อ Basic Essay Structure https://www.youtube.com/watch?v=7P4fzbzwwAg (4) นักศึกษาสรุปประเด็นที่ได้จากการดูคลิปใน Discussion Forums และให้นักศึกษาอภิปรายว่าชอบคลิปไหนกว่ากัน เพราะอะไร พร้อมหา YouTube ที่น่าสนใจเกี่ยวกับ Essay Structure และแชร์ใน Discussion Forums (5) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่ออภิปรายสรุปเกี่ยวกับหลักการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาในการเขียนและการแก้ไขงานเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ |
|
3-5 | การเขียนเรียงความเชิงสาธก (Argumentative Essay) | 12 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับการเขียนเรียงความเชิงสาธก (Argumentative Essay) (2) นักศึกษาศึกษาองค์ประกอบและตัวอย่างของการเขียนเรียงความเชิงสาธก (Argumentative Essay) จากเอกสารไฟล์ pdf (3) นักศึกษาเข้าฟังคลิปบรรยายจาก YouTube คลิปที่ 1 Opinion Essay or Persuasive Essay https://www.youtube.com/watch?v=DqwzYoThUpg คลิปที่ 2 The Five Paragraph Argumentative Essay Structure https://www.youtube.com/watch?v=57qLMT6tZp0 (4) นักศึกษาสรุปประเด็นที่ได้จากการดูคลิปใน Discussion Forums และให้นักศึกษาอภิปรายว่าชอบคลิปไหนกว่ากัน เพราะอะไร พร้อมหา YouTube ที่น่าสนใจเกี่ยวกับ Argumentative Essay และแชร์ใน Discussion Forums (5) นักศึกษาศึกษาตัวอย่างงานการเขียนเรียงความเชิงสาธก (Argumentative Essay Models) จากการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต จำนวน 5 ตัวอย่างและทำแบบสรุปตัวอย่างงานการเขียนเรียงความเชิงสาธก (Analysis of Argumentative Essay Models) ตามแบบฟอร์ม (6) นักศึกษาส่งแบบสรุปตัวอย่างงานการเขียนเรียงความเชิงสาธก (Analysis of Argumentative Essay Models) โดยส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning (7) นักศึกษาเขียนเรียงความเชิงสาธก (Argumentative Essay) ตามโจทย์ได้รับมอบหมาย (8) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่ออภิปรายปัญหาในการเขียน Draft 1 และอาจารย์อธิบายวิธีการตรวจสอบการเขียนของตนเอง (Self-Editing Checklist) (9) นักศึกษาตรวจสอบงานเขียนของตนเอง (Draft 1) ตาม แบบประเมิน Self-Editing Checklist (10) นักศึกษาแก้ไขปรับปรุงงานเขียนของตนเอง (Draft 1) ตามแบบประเมิน Self-Editing Checklist (11) นักศึกษาส่งงานเขียนที่ปรับปรุงแล้ว (Draft 2) พร้อมแบบประเมิน Self-Editing Checklist ให้อาจารย์เพื่อตรวจสอบ โดยส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning (12) อาจารย์ให้คำแนะนำงานเขียนของนักศึกษา โดยใช้ Electronic Feedback (Microsoft Track Change) และส่งคืนนักศึกษาทางออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning (13) นักศึกษาแก้ไขงานเขียนของนักศึกษา (Draft 2) ตามคำแนะนำของอาจารย์ (14) นักศึกษาส่งงานเขียนฉบับ Final Draft ให้อาจารย์ทางออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning |
|
6-8 | การถอดความ (Paraphrasing) | 9 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับวิธีการถอดความ (Paraphrasing) (2) นักศึกษาศึกษาตัวอย่างของการถอดความ (Paraphrasing) จากเอกสารไฟล์ pdf (3) นักศึกษาเข้าฟังคลิปบรรยายจาก YouTube คลิปที่ 1 English Writing: Paraphrasing https://www.youtube.com/watch?v=sgMJ16WUEPg คลิปที่ 2 Paraphrasing: The Basic Steps https://www.youtube.com/watch?v=nSGzuxbdheI (4) นักศึกษาสรุปประเด็นที่ได้จากการดูคลิปใน Discussion Forums และอภิปรายว่าชอบคลิปไหนกว่ากัน เพราะอะไร พร้อมหา YouTube ที่น่าสนใจเกี่ยวกับ การถอดความ (Paraphrasing) และแชร์ใน Discussion Forums (5) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการถอดความ (Paraphrasing) และส่งงานผ่านระบบ KKU e-Learning (6) อาจารย์เฉลยแบบฝึกหัดและให้คำแนะนำงานเขียนของนักศึกษา ผ่านระบบ KKU e-Learning และโปรแกรม Google Meet (7) นักศึกษาแก้ไขงานเขียน ตามคำแนะนำของอาจารย์ (8) นักศึกษาส่งงานเขียนที่แก้ไขแล้ว คืนให้อาจารย์ทางออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning 9. ทำแบบฝึกหัด paraphrasing (10 คะแนน) (สัปดาห์ที่ 8) |
|
9-11 | การสรุปความ (Summarizing) | 9 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับวิธีการสรุปความ (Summarizing) (2) นักศึกษาศึกษาตัวอย่างของการสรุปความ (Summarizing) จากเอกสารไฟล์ pdf (3) นักศึกษาเข้าฟังคลิปบรรยายจาก YouTube คลิปที่ 1 How to Write a Summary https://www.youtube.com/watch?v=eGWO1ldEhtQ คลิปที่ 2 The Simple Summary https://www.youtube.com/watch?v=V-ki6TP4EYs&t=81s (4) นักศึกษาสรุปประเด็นที่ได้จากการดูคลิปใน Discussion Forums และอภิปรายว่าชอบคลิปไหนกว่ากัน เพราะอะไร พร้อมหา YouTube ที่น่าสนใจเกี่ยวกับ การสรุปความ (Summarizing) และแชร์ใน Discussion Forums (5) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสรุปความ (Summarizing) และส่งงานผ่านระบบ KKU e-Learning (6) อาจารย์เฉลยแบบฝึกหัดและให้คำแนะนำงานเขียนของนักศึกษา ผ่านระบบ KKU e-Learning และโปรแกรม Google Meet (7) นักศึกษาแก้ไขงานเขียน ตามคำแนะนำของอาจารย์ (8) นักศึกษาส่งงานเขียนที่แก้ไขแล้ว คืนให้อาจารย์ทางออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning 9. ทำแบบฝึกหัด summarizing (10 คะแนน) (สัปดาห์ที่ 11) |
|
12-14 | การสังเคราะห์และการอ้างอิง (Synthesis and Citing) | 6 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับวิธีการสังเคราะห์และการอ้างอิง (Synthesis and Citing) (2) นักศึกษาศึกษาตัวอย่างของการสังเคราะห์และการอ้างอิง (Synthesis and Citing) จากเอกสารไฟล์ pdf (3) นักศึกษาเข้าฟังคลิปบรรยายจาก YouTube คลิปที่ 1 Synthesis for Literature Reviews https://www.youtube.com/watch?v=eVt2mMG_gwE คลิปที่ 2 Synthesizing Literature https://www.youtube.com/watch?v=Gm8mZ-ClNuw คลิปที่ 3 Writing a Literature Synthesis https://www.youtube.com/watch?v=JYqz8yv82po คลิปที่ 4 APA in Minutes: In-Text Citations https://www.youtube.com/watch?v=qzKlb7E7ERc (4) นักศึกษาสรุปประเด็นที่ได้จากการดูคลิปใน Discussion Forums และอภิปรายว่าชอบคลิปไหนกว่ากัน เพราะอะไร พร้อมหา YouTube ที่น่าสนใจเกี่ยวกับการสังเคราะห์และการอ้างอิง (Synthesis and Citing) และแชร์ใน Discussion Forums (5) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังเคราะห์และการอ้างอิง (Synthesis and Citing) และส่งงานผ่านระบบ KKU e-Learning (6) อาจารย์เฉลยแบบฝึกหัดและให้คำแนะนำงานเขียนของนักศึกษา ผ่านระบบ KKU e-Learning และโปรแกรม Google Meet (7) นักศึกษาแก้ไขงานเขียน ตามคำแนะนำของอาจารย์ (8) นักศึกษาส่งงานเขียนที่แก้ไขแล้ว คืนให้อาจารย์ทางออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning 9) ทำแบบฝึกหัด synthesis and citing (10 คะแนน) (สัปดาห์ที่ 14) |
|
15-16 |
นำเสนองาน synthesis and citing การสอบปลายภาค (Final Online Take-Home Examination) |
3 |
|
การทดสอบประมวลความรู้การเขียนของรายวิชา (Online Take Home Exam) นำเสนองาน synthesis and citing การทดสอบประมวลความรู้การเขียนของรายวิชา (Online Take Home Exam) |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าเรียนใน KKU e-Learning และการมีส่่วนร่วม |
|
5 | |
เรียงความเชิงสาธก (Argumentative Essay) |
|
20 | |
การวิเคราะห์ตัวอย่างเรียงความเชิงสาธก (Argumentative Essay Model Analysis) |
|
10 | |
แบบฝึกหัดการถอดความ (Paraphrasing)/ การสรุปความ (Summarizing)/ การสังเคราะห์และการอ้างอิง (Synthesis and Citing) |
|
30 | |
การสอบปลายภาค (Final Online Take-Home Examination) |
|
20 | |
การนำเสนองาน synthesis and citing |
|
15 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | Chin, P., Reid, S., Wray, S., & Yamazaki, Y. (2012). Academic Writing Skills: Student’s Book 2. Cambridge: Cambridge University Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Oshima, A., & Hogue, A. (2007). Introduction to Academic Writing. Longman: New York. | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | The Purdue Online Writing Lab, Purdue University. Available at http://owl.english.purdue.edu/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | https://handymandanonline.com/Paraphrasing-tool/Index.html | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=6PnsKg7hkIo | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=7P4fzbzwwAg | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=DqwzYoThUpg | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=DqwzYoThUpg | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=57qLMT6tZp0 | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=sgMJ16WUEPg | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=nSGzuxbdheI | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=eGWO1ldEhtQ | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=eGWO1ldEhtQ | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=V-ki6TP4EYs&t=81s | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=eVt2mMG_gwE | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=Gm8mZ-ClNuw | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=JYqz8yv82po | ||
YouTube | https://www.youtube.com/watch?v=qzKlb7E7ERc |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 1.5 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 3.4 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก
2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน
3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ