Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS113204
ภาษาไทย
Thai name
งานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
English name
ENGLISH POETRY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิกรานต์ นามผาดอน
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิกรานต์ นามผาดอน
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • นักศึกษามีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่มในการทำงานมอบหมาย
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    องค์ประกอบหลักและประเภทของงานร้อยกรอง และการวิเคราะห์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Major elements and types of poetry, and analysis of English poetry
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Task-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 Course Introduction
    - Introduction: What is Poetry?
    - Introduction: Speaker and Tone
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1) พบนักศึกษาด้วยระบบ Video Conference เพื่อชี้แจงและร่วมทำข้อตกลงในรายละเอียดของกระบวนการจัดการเรียนการสอน กิจกรรม การประเมินผล
    2) แนะนำการเข้าใช้ระบบ KKU E-Learning ของรายวิชา
    3) ให้นักศึกษาดาวน์โหลดเอกสารประกอบการสอนจากระบบ KKU E-Learning
    4) บรรยายด้วยระบบ Video Conference ในหัวข้อ What Is Poetry? และ Speaker and Tone
    5) มอบหมายให้นักศึกษาทำงานกลุ่มโดยเลือก บทกลอนภาษาอังกฤษที่กลุ่มสนใจและวิเคราะห์ Speaker and Tone ของบทกลอนโดยนำเสนอผลงานเป็น Info Graphic โพสต์ลงบนกระดานสนทนาและให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    2-3 Types of Poetry: Narrative Poetry
    Poetic Devices: Rhyme and Slant Rhyme/ Repetition and Parallelism

    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1) ให้นักศึกษาดาวน์โหลดเอกสารประกอบการสอนจาก KKU E-Learning.
    2) บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่อง Narrative Poetry โดยสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับ อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิด ที่มีผลต่องานวรรณกรรม
    3) จัดการอภิปรายด้วย Video Conference แสดงตัวอย่างบทกลอนที่มีการใช้ Repetition and Parallelism และให้อภิปรายถึงจุดเด่นของการใช้ Repetition and Parallelism ในการแต่งกลอนภาษาอังกฤษ เรียนรู้จากกรณีศึกษาของ Tongue Twisters
    4) มอบหมายให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดออนไลน์ เรื่อง Rhyme
    4-5 Types of Poetry: Narrative Poetry
    Poetic Devices: Onomatopoeia/ Allusion
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1) ให้นักศึกษาดาวน์โหลดเอกสารประกอบการสอนจาก KKU E-Learning
    2) บรรยายด้วย Video Conference เรื่อง Onomatopoeia แสดงกรณีศึกษาของงานประพันธ์ที่มีการใช้ Onomatopoeia เป็นคลิปวิดีโอ
    3) มอบหมายให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดออนไลน์ เรื่อง Phonics and Meaning
    4) อภิปรายให้เห็นวัฒนธรรมในการแทนเสียงและความหมายในภาษาอังกฤษด้วยกระดานสนทนา
    5) บรรยายด้วย Video Conference เรื่อง Allusion แสดงกรณีศึกษาของงานประพันธ์ที่มีการใช้ Allusion ซึ่งเชื่อมโยงกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิด
    6) ทำกิจกรรมเกมส์และแบบฝึกหัดออนไลน์ จับคู่เรื่องราวเชื่อมโยง Allusion กับตัวบทร้อยกรองที่เป็นกรณีศึกษา
    6-7 Types of Poetry: Lyric Poetry
    Poetic Devices: Imagery/ Personification
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1. ให้นักศึกษาดาวน์โหลดเอกสารประกอบการสอนจาก KKU E-Learning
    2. บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่อง Lyric Poetry โดยสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับ อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิด ที่มีผลต่องานวรรณกรรมด้วยระบบ Video Conference
    3. มอบหมายให้นักศึกษาสร้างสรรค์กวีนิพนธ์เพื่อบรรยายภาพที่กำหนดให้เพื่อประกอบการเรียนรู้เรื่อง Imagery และ Personification และนำเสนอในกระดานสนทนา
    4. มอบหมายให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดออนไลน์ เรื่อง Imagery และ Personification
    8-9 Types of Poetry: Lyric Poetry
    Poetic Devices: Word Choice and Connotation/ Simile
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1. บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่อง Lyric Poetry โดยสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับ อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิด ที่มีผลต่องานวรรณกรรมด้วยระบบ Video Conference
    2. ทำกิจกรรมเพื่อเรียนรู้การใช้คำที่หลากหลาย และการใช้ Thesaurus ด้วยนะบบออนไลน์
    3. อภิปรายเรื่องการสื่อความหมายนัยตรง (Denotation) และนัยประหวัด (Connotation) โดยใช้กระดานสนทนาออนไลน์
    4. มอบหมายให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดออนไลน์ เรื่อง Simile
    10-11 Types of Poetry: Lyric Poetry
    Poetic Devices: Metaphor/ Implied Metaphor/ Extended Metaphor
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1. บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่อง Lyric Poetry โดยสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับ อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิด ที่มีผลต่องานวรรณกรรมด้วย ระบบ Video Conference
    2. บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่อง Metaphor, Implied Metaphor และ Extended Metaphor ด้วยระบบ Video Conference
    3. มอบหมายงานกลุ่มเพื่อค้นคว้าและนำเสนอกรณีศึกษาของ Metaphor, Implied Metaphor และ Extended Metaphor และนำเสนอในกระดานสนทนาออนไลน์
    12 Types of Poetry: Dramatic Poetry
    Poetic Devices: Symbolism
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1. บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่อง Dramatic Poetry โดยสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับ อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิด ที่มีผลต่องานวรรณกรรมผ่านระบบ Video Conference
    2. บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่อง Symbolism ด้วย ระบบ Video Conference
    3. มอบหมายงานกลุ่มเพื่อค้นคว้าและนำเสนอกรณีศึกษาของ Symbolism และนำเสนอใน รูปแบบ Infographic
    13 Pattern in Poetry: Shakespearean Sonnet and Petrarchan Sonnet 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • E2: นักศึกษามีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่มในการทำงานมอบหมาย
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1. บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่องฉันทลักษณ์ของ Shakespearean Sonnet และ Petrarchan Sonnet โดยคัดเลือกกรณีศึกษาที่สะท้อน อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดตะวันตกผ่านระบบ Video Conference
    2. มอบหมายงานกลุ่มให้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการตีความ กวีนิพนธ์ในรูปแบบ Sonnet วิพากย์วิจารณ์แนวคิดของผู้ประพันธ์และสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่องานประพันธ์
    3. นำเสนอผลการอภิปรายกลุ่มย่อยเป็นคลิปวิดีโอ
    4. มอบหมายให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดออนไลน์ เรื่อง Sonnet
    14 Pattern in Poetry: Concrete Poetry/Free Verse and Experimentation with Forms 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • E2: นักศึกษามีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่มในการทำงานมอบหมาย
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    1. บรรยายและแสดงกรณีศึกษาเรื่องฉันทลักษณ์ที่เป็นรูปแบบเฉพาะของ Concrete Poetry, Free Verse และ รูปแบบอื่น ๆ โดยคัดเลือกกรณีศึกษาที่สะท้อน อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดตะวันตกผ่านระบบ Video Conference
    2. มอบหมายงานกลุ่มให้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการตีความ กวีนิพนธ์ในรูปแบบ Concrete Poetry Free Verse หรือประเภทอื่น ๆ วิพากย์วิจารณ์แนวคิดของผู้ประพันธ์และสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม ที่มีนำไปสู่รูปแบบเฉพาะของงานประพันธ์
    3. นำเสนอผลการอภิปรายกลุ่มย่อยเป็นคลิปวิดีโอ
    15 Presentation 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • E2: นักศึกษามีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่มในการทำงานมอบหมาย
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    แบบฝึกหัดออนไลน์
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    15 สัปดาห์ที่ 3, 4, 5, 7, 9 และ 13
    การมีส่วนร่วมในการอภิปราย
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • E2: นักศึกษามีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่มในการทำงานมอบหมาย
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    10 ทุกสัปดาห์
    การนำเสนอผลงานการศึกษาของกลุ่มเป็น infographic
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • E2: นักศึกษามีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่มในการทำงานมอบหมาย
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    15 สัปดาห์ที่ 1, 11 และ 12
    การนำเสนอผลงานการศึกษาของกลุ่ม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์งานร้อยกรองภาษาอังกฤษได้
    • E1: นักศึกษามีมารยาทรับฟังความเห็นที่แตกต่างในการตีความงานวรรณกรรม
    • E2: นักศึกษามีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่มในการทำงานมอบหมาย
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    30 สัปดาห์ที่ 13 และ 14
    การสอบ
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สำคัญของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C1: นักศึกษามีความตระหนักถึงบทบาท อิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและปรัชญาแนวคิดที่สะท้อนผ่านงานร้อยกรองภาษาอังกฤษ
    • C2: นักศึกษาคิด วิเคราะห์ วิจารณ์งานร้อยกรองด้วยกระบวนวิธีคิดที่มีตรรกะเหตุผล และเปิดรับเหตุผลข้อโต้แย้งของผู้อื่น
    30 สัปดาห์ที่ 7 และ 15
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Namphadorn, W. (2019). Coursebook of HS 113 205 English Poetry. Faculty of Humanities and Social
    Sciences, Khon Kaen University.
    หนังสือ หรือ ตำรา Chantraporn, S. (1996). Poetry: an introductory study. Bangkok : Department of English, Faculty of
    Arts, Chulalongkorn University.
    หนังสือ หรือ ตำรา Kennedy, X.J. (1998). An introduction to poetry. New York : Longman.
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=0HDdjwpPM3Y
    YouTube https://www.youtube.com/watch?v=4JipHEz53sU
    e-Learning https://www.youtube.com/watch?v=CevxZvSJLk8
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
    1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
    1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
    1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
    1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก

    2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
    2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
    2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
    2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน

    3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
    3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
    3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้

    4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
    4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ