Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS113609
ภาษาไทย
Thai name
การสอนแบบใช้ภาระงานเป็นฐาน
ภาษาอังกฤษ
English name
TASK-BASED LANGUAGE TEACHING
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จอมรัฐ พัฒนศร
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จอมรัฐ พัฒนศร
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    นิยามของงาน ประเภทของการสอนโดยใช้งานเป็นฐาน การออกแบบและ
    การนำไปใช้ แผนการสอน การประเมิน

    ภาษาอังกฤษ
    English
    Definitions of task, types of task-based language teaching, design
    and implementation, lesson plan, assessment
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Flipped classroom
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    2 1. ประเภทของงาน
    2. ความหมายของงาน
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    1.บรรยาย เรื่องประเภทของงานและความหมายของงาน
    2. อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรื่องประเภทของงานและความหมายของงาน
    เอกสาร:
    1. ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    2. หนังสือ หรือ ตำรา
    ช่องทางการสอน:
    ในห้องเรียน
    3 Theoretical perspectives 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    1.บรรยาย เรื่องทฤษฏีการเรียนภาษาแบบใช้งานเป็นฐาน cognitive perspective, sociocultural perspective, psycholinguistic perspective
    2. อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    เอกสาร:
    1. ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    2. หนังสือ หรือ ตำรา
    ช่องทางการสอน:
    3. Video clip ใน Google Classroom
    4-6 Designing a Task-based language learning syllabus 9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1. บรรยาย เรื่องการออกแบบหลักสูตรแบบใช้งานเป็นฐาน
    2. บรรยาย เรื่องการวิเคราะห์ความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    3. ผู้เรียนออกแบบแบบสอบถามการวิเคราะห์ความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    4. ผู้เรียนเก็บและข้อมูลความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    5. ผู้เรียนนำเสนอความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    เอกสาร:
    1. ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ช่องทางการสอน:
    1. ห้องเรียน
    2. เก็บข้อมูลนอกชั้นเรียน
    7 Writing up a task-based language learning syllabus 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.บรรยายวิธีการเขียน task-based syllabus
    2.ผู้เรียนเขียน task-based syllabus
    เอกสาร:
    1. หนังสือ หรือ ตำรา
    2. ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ช่องทาง:
    ห้องเรียน
    8 Presentation 1 3
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ผู้เรียนนำเสนอหลักสูตรสอนภาษาแบบ Task-Based
    เอกสาร:
    1. ใบคะแนนนำเสนอ
    ช่องทาง:
    1. ห้องเรียน
    9 Task-supported Language Learning 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    1.บรรยาย เรื่อง Task-supported language learning
    2.บรรยายประเภทของ task ที่ใช้ใน task-supported language learning
    3.ผู้เรียนทดลองเรียนภาษาผ่านการใช้ task ประเภทต่างๆ
    เอกสาร
    1.หนังสือ หรือ ตำรา
    2.ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ช่องทาง
    1.โปรแกรมวีดีทัศน์
    2. ห้องเรียน
    10 Task Cycle 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    1.บรรยาย เรื่อง Task Cycle
    2. ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา Task Cycle
    เอกสาร
    1.หนังสือ หรือ ตำรา
    2.ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ช่องทาง
    ห้องเรียน
    11-13 Task Design 9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.ผู้เรียนออกแบบ Task ประเภทต่างๆ ที่สอดคล้องกับ Task-based Language Learning Syllabus
    2.ผู้เรียนให้ผู้สอนตรวจสอบ Task
    3.ผู้เรียนทดลองใช้ Task
    4.ผู้เรียนวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ Task
    เอกสาร:
    1.Template การเขียน Task
    2. แบบประเมิน Task
    ช่องทาง:
    1.ห้องเรียน
    2.นอกชั้นเรียน
    14 Presentation 2 3
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ผู้เรียนนำเสนอ Task ที่ได้ออกแบบและทดลองใช้
    เอกสาร:
    1. ใบคะแนนนำเสนอ
    ช่องทาง:
    1. ห้องเรียน
    15 Task-based Assessment 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.บรรยาย เรื่อง Task-based Assessment
    2.ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    3.ผู้เรียนศึกษาตัวอย่างรูปแบบการวัดประเมินผลแบบ task
    4.ผู้เรียนออกแบบเครื่องมือประเมินวัดผล task
    เอกสาร
    1.หนังสือ หรือ ตำรา
    2.ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ช่องทาง
    1.ในห้องเรียน
    16 สรุปเนื้อหา 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ Task-based language learning
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับรายวิชา
    ส่ง Portfolio ชิ้นงาน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10
    งานกลุ่ม Task-Based Syllabus
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    30
    งานกลุ่ม Task-Supported Language Learning Tasks
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    30
    Presentation 1
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    10
    Presentation 2
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    10
    งานเดี่ยว Homework
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องการเรียนการสอนด้วยงาน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการเรียนการสอนและประเมินวัดผลด้วยงาน
    10
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    เอกสารประกอบการสอน เอกสารรวบรวม เรื่อง Task-Based Language Learning อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา จอมรัฐ พัฒนศร และ อังคณา พัฒนศร การเรียนการสอนภาษาแบบใช้งานเป็นฐาน อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา Ellis, R. Skehan, P. Li, S., Shintani, N., Lambert, C. Task-based language teaching: Theory and Practice. Cambridge. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Faez, F. & Tavaloki, P. (2019). Task-Based Language Teaching. Tesol Press.
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Power point รายหัวข้อ อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา Ahmadian, M. J., & Long, M. H. (Eds.). (2021). The Cambridge Handbook of Task-Based Language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
    1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
    1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
    1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
    1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก

    2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
    2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
    2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
    2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน

    3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
    3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
    3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้

    4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
    4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ