Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2562
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS144204
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
ภาษาอังกฤษ
English name
CORPUS LINGUISTICS
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุขุม วสุนธราโศภิต
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุขุม วสุนธราโศภิต
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรวิภา พูลผล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
    • รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
    • รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
      • ทำงานวิจัยในด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
      • กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
      • มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      การวิเคราะห์การใช้ภาษาจากเนื้อหาภาษาอังกฤษที่เกิดในบริบทต่างๆและในความหมายที่นัยต่างๆ หลักการและวิธีการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Analysis of English authentic texts in different contexts and implications, principles and approaches to corpus linguistics, related research
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Online learning
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Flipped classroom
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น 3
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2.ชี้แจงข้อตกลงของรายวิชาตามแผนการสอน
        3. ให้นักศึกษาอภิปรายเพื่อปรับข้อตกลงให้สอดคล้องกับความต้องการและเหมาะสม
        4. มอบหมาย articles ให้นักศึกษาเลือกสำหรับ presentation โดยเริ่มต้นสัปดาห์ที่ 3 จนตลอดทั้งภาคเรียน
        5. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        2 Introduction to corpus linguistics 3
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • C1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • C3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับภาษาศาสตร์คลังข้อมูลเบื้องต้น
        3. สรุปประเด็นสำคัญ
        4. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        3 Trends and issues in corpus-based research studies 3
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • K3: รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
        • C1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • C3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปราย เกี่ยวกับแนวโน้มของงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        5. มอบหมายให้นักศึกษาเขียน prospectus
        6. มอบหมายงาน annotations of research articles
        7
        . มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        4-5 Corpus design and corpus compilation 6
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • S2: ทำงานวิจัยในด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษาส่งงาน prospectus สัปดาห์ที่ 4 และคืนให้ในสัปดาห์ที่ 5
        3. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        4. ให้นักศึกษาร่วมอภิปราย เกี่ยวกับ corpus design and corpus compilation
        5. สรุปประเด็นสำคัญ
        6. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        6 Available well-known corpora 3
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • S2: ทำงานวิจัยในด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปราย เกี่ยวกับ well- known corpora ในงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        5. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        7 Software and corpus analyses: Frequency lists 3
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • S2: ทำงานวิจัยในด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปราย เกี่ยวกับ software ที่ใช้ในงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูล และให้สาธิตการใช้โปรแกรมที่สนใจ
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        5. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        8 Software and corpus analyses: Collocation & Phraseology 3
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • S2: ทำงานวิจัยในด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปราย เกี่ยวกับ software ที่ใช้ในงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูล และให้สาธิตการใช้โปรแกรมที่สนใจ
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        5. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        9-10 Corpus-based studies on vocabulary and collocations 6
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • K3: รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • C1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • C2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูลด้าน vocabulary & collocations
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        5. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        6. นักศึกษาส่ง article annotations

        11 Corpus-based studies on ESP 3
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • K3: รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • C1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • C2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูลด้าน ESP
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        5. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป

        12 Corpus-based studies on translation 3
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • K3: รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • C1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • C2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูลด้าน Translation
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        5. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        13 Corpus-based studies on learner corpora (spoken and written) 3
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • K3: รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • C1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • C2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูลโดยใช้ learner corpora
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        5. มอบหมายหัวข้อให้นักศึกษาเตรียมตัวเพื่อการอภิปรายในคราวต่อไป
        14 Corpus linguistics and language teaching 3
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • K3: รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • C1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • C2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานบทความวิจัยที่เลือกไว้
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายงานวิจัยทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูลโดยใช้ learner corpora
        4. สรุปประเด็นสำคัญ
        15 Research Project Presentation 3
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • S2: ทำงานวิจัยในด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • C1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • C2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • C3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        1. พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom
        2. นักศึกษารายงานงานวิจัยของตนเอง
        3. ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายงานวิจัยของเพื่อนในชั้นเรียน
        4. นักศึกษาส่งเล่มวิจัย
        รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
        8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
             Course assessment
        วิธีการประเมิน
        Assessment Method
        CLO สัดส่วนคะแนน
        Score breakdown
        หมายเหตุ
        Note
        1. Participation
        • A1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • A2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        10 Measured from virtual classrooms
        2. Prospectus
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • K3: รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
        • A1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • A2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        10 week 4
        3. Research Article presentations
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • A2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        10 Week 3 - 15
        4. Research Annotations
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • K3: รู้ถึงแนวโน้มการทำวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในปัจจุบัน
        • A1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • A2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        20 Week 10
        5. Research Report
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • S2: ทำงานวิจัยในด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • A2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        10 Week 15
        6. Research presentation
        • K1: รู้และเข้าใจในทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูลในการทำวิจัย
        • K2: รู้จักงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลที่ผ่านมาและการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
        • S1: วิเคราะห์และอธิบายการใช้ภาษาอังกฤษที่เกิดขึ้นในบริบทต่างๆ และนัยยะต่างๆ ได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • S2: ทำงานวิจัยในด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูลได้ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีและหลักการใช้ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A1: ให้ความสนใจในการเกิดขึ้นของภาษาอังกฤษในบริบทต่าง ๆ
        • A2: กล้าแสดงความคิดเห็น วิจารณ์งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์คลังข้อมูล
        • A3: มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีจรรยาบรรณในการทำวิจัย
        10 Week 15
        สัดส่วนคะแนนรวม 70
        9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
             Textbook and instructional materials
        ประเภทตำรา
        Type
        รายละเอียด
        Description
        ประเภทผู้แต่ง
        Author
        ไฟล์
        File
        หนังสือ หรือ ตำรา Hunston, S. (2002). Corpora in Applied Linguistics. Cambridge: Cambridge University Press.
        หนังสือ หรือ ตำรา Biber, D., Conrad, S., & Reppen, R. (1998). Corpus Linguistics: Investigating Language Structure and Use. Cambridge: Cambridge University Press.
        บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Biber, D., Conrad, S., & Cortes, V. If you take a look at: Lexical bundles in university teaching and textbooks. Applied Linguistics, 25, 371-405.
        บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Coxhead, A. (2000). A new academic word list. TESOL Quarterly, 34, 213-238.
        บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Gavioli, L. (2001). The learner as researcher: Introducing corpus concordancing in the classroom. In G. Aston (Ed.), Learning with corpora (pp. 108-137). Houston, TX: Athelstan.
        หนังสือ หรือ ตำรา Keck, C. (2011). Corpus linguistics and language teaching. In Chapelle, C. (Ed.), Encyclopedia of Applied Linguistics. Wiley Blackwell.
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Smith, K. & Neufeld, S. Lextutor: One-stop shopping for data-driven learning. Accessed online January 24, 2011 from: http://cte319.pbworks.com/w/page/30720613/activity%20-%20introduction% 20to%20ddl
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Smith, K. & Neufeld, S. The colour of words: Vocabulary profiling. Accessed online January 24, 2011 from: http://cte319.pbworks.com/w/page/30738670/activity%20-%20intro%20to%20 vocabulary%20profiling
        หนังสือ หรือ ตำรา Swales, J. & Feak, C. (2004). Academic Writing for Graduate Students: Essential Tasks and Skills. Second Edition. Ann Arbor, MI: Michigan University Press.
        10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
             Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
        การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
        Evaluation of course effectiveness and validation
        • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
        • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
        • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
        การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
        Improving Course instruction and effectiveness
        • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
        • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
        ผลการเรียนรู้
        Curriculum mapping
        1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

        รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
        หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)

        1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
        1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ
        1.2 มีความประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิตสาธารณะ
        มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

        2. ความรู้
        2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
        2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
        2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

        3. ทักษะทางปัญญา
        3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
        3.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สำคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสาคัญ

        4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
        4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
        4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้

        5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
        5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
        5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้