1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
|
หัวข้อการสอน
Teaching topics
|
จํานวน ชั่วโมง
Number of hours
|
CLO
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
1-2 |
1. INTRODUCTION TO THE COURSE
1.1 Overview of the course (i.e., goals, teaching and learning styles, requirements, and assignments)
1.2 Significance and implications of the course
2. PRINCIPLES AND APPROACHES TO LANGUAGE CURRICULUM DESIGN AND DEVELOPMENT
2.1 Global perspectives
2.2 Local perspectives
|
6 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
- S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
- S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
- S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
|
Teaching and learning activities (Case Discussion)
• Giving lectures and discussing cases
• Eliciting students’ different experiences in their previous and current language learning
• Making a connection between students’ experience and theory
• Studying two cases of global and local curricula
• Analysing global and local cases by using principles and approach to language curriculum design and development
• Criticising the global and local cases
• Reflecting key concepts behind the construction of global and local curricula
• Checking and repairing students’ understanding
• Assigning students to create their curriculum (Step 1)
Teaching materials
• Research and academic articles
• PowerPoint Presentation
• Video
Teaching channel
• KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
• Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Zoom (Synchronous learning tool)
|
3-4 |
3. TYPES, LEVELS AND ELEMENT OF CURRICULUM
3.1 Structural Syllabus
3.2 Functional-Notional Syllabuses
3.3 Situational Syllabus
3.4 Skill-Based Syllabus
3.5 The Task-Based Syllabus
3.6 The Content-Based Syllabus
|
6 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
- S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
- S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
- S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
|
Teaching and learning activity (Flipped Classroom-theory-based learning)
• Assigning reading
• Eliciting students’ knowledge from reading
• Constructing students’ knowledge through critical thinking questions such as (1) Who would be affected by…? (2) What was the purpose of … ? (3) Where would you most often find this problem? (4) Why is this important? (5) How is this different from other situations? (6) Do you agree with … ?
• Making a connection between students’ experience and theory
• Evaluating syllabi (the pros and cons)
• Assigning students to create their curriculum (Step 2)
Teaching materials
• Research and academic articles
• PowerPoint Presentation
• Video
Teaching channel
• KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
• Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Zoom (Synchronous learning tool)
|
5-6 |
3. TYPES, LEVELS AND ELEMENT OF CURRICULUM (Ongoing)
3.1 Structural Syllabus
3.2 Functional-Notional Syllabuses
3.3 Situational Syllabus
3.4 Skill-Based Syllabus
3.5 The Task-Based Syllabus
3.6 The Content-Based Syllabus
|
6 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
- S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
- S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
- S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
|
Teaching and learning activity (Case Discussion)
• Meeting with curriculum implementation agents from Thailand, Japan, Canada, Norway, and New Zealand
• Discussing case 1: Teaching English in an urban school in Bangkok
• Discussing case 2: Teaching English in a rural school in Thailand
• Discussing case 3: Teaching English in Japan
• Discussing case 4: Thai graduate using English in Canada
• Discussing case 5: Thai graduate using English in New Zealand
• Discussing case 6: Norwegian graduate using English UsEliciting students’ knowledge from reading
• Making connections between cases and types of their syllabi
• Analysing key elements of their curricula students’ experience and theory
• Drawing curriculum landscapes of each case
• Presenting students’ tasks
• Assigning students to create their curriculum (Step 3)
Teaching materials
• Learning Tasks
• Note-taking sheets
Teaching channel
• KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
• Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Zoom (Synchronous learning tool)
|
7-8 |
4. CURRENT FRAMEWORKS FOR SECOND LANGUAGE CURRICULUM DESIGN AND DEVELOPMENT
4.1 Global Framework: The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR)
4.2 Local Framework: The Basic Thai Education Core Curriculum
4.3 Glocal Framework: Second-Language Curriculum Models
|
6 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
- S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
- S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
- S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
|
Teaching and learning activities (Case Discussion)
• Giving lectures and discussing cases
• Evaluating global framework (the pros and cons)
• Evaluating local framework (the pro and cons)
• Making a connection between the glocal and local frameworks
• Creating glocal framework
• Reflecting awareness of using glocal framework
• Checking and repairing students’ understanding
• Assigning students to create their curriculum (Step 4)
Teaching materials
• Research and academic articles
• PowerPoint Presentation
• Video
Teaching channel
• KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
• Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Zoom (Synchronous learning tool)
|
9-11 |
5. PROCESSES IN LANGUAGE CURRICULUM DESIGN AND DEVELOPMENT
5.1 Identification of need for language curriculum
5.2 Exploration of need
5.3 Contextual realisation of curriculum
5.4 Pedagogical realisation of curriculum
5.5 Production of curriculum
5.6 Teachers and students use of curriculum
6. Evaluation of curriculum against agreed objectives
|
9 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
- S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
- S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
- S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
|
Teaching and learning activity (Flipped Classroom-theory-based learning)
• Assigning reading
• Eliciting students’ knowledge from reading
• Constructing students’ knowledge through critical thinking questions such as (1) Who would be affected by…? (2) What was the purpose of … ? (3) Where would you most often find this problem? (4) Why is this important? (5) How is this different from other situations? (6) Do you agree with … ?
• Making a connection between students’ knowledge and theory
• Reflecting key concepts behind the process in language curriculum design and development
• Checking and repairing students’ understanding
• Assigning students to create their curriculum (Step 5)
Teaching materials
• Research and academic articles
• PowerPoint Presentation
• Video
Teaching channel
• KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
• Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Zoom (Synchronous learning tool)
|
12-13 |
6. CURRICULUM IMPLEMENTATION AND EVALUATION
6.1 How to use curriculum
6.2 Global Criteria for curriculum assessment
6.2 Local Criteria for curriculum assessment
6.3 Glocal Criteria for curriculum assessment
|
6 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
- S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
- S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
- S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
|
Teaching and learning activity (Flipped Classroom-theory-based learning)
• Assigning reading
• Eliciting students’ knowledge from reading
• Constructing students’ knowledge through critical thinking questions such as (1) Who would be affected by…? (2) What was the purpose of … ? (3) Where would you most often find this problem? (4) Why is this important? (5) How is this different from other situations? (6) Do you agree with … ?
• Making a connection between students’ knowledge and theory
• Reflecting key concepts behind the process in curriculum implementation and evaluation
• Checking and repairing students’ understanding
• Assigning students to create in-house criteria for curriculum assessment
• Giving feedback on students’ work
• Assigning students to create their curriculum (Step 6)
Teaching materials
• Research and academic articles
• PowerPoint Presentation
• Video
Teaching channel
• KKU E-learning (Asynchronous learning tools)
• Discussion boards (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Line (Synchronous and asynchronous learning tools)
• Zoom (Synchronous learning tool)
|
14-15 |
6. CURRICULUM IMPLEMENTATION AND EVALUATION (Ongoing)
6.1 How to use curriculum
6.2 Global Criteria for curriculum assessment
6.2 Local Criteria for curriculum assessment
6.3 Glocal Criteria for curriculum assessment
7. END OF COURSE SUMMARY
|
6 |
|
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
- S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
- S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
- S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
- C1: นักศึกษาตระหนักรู้ว่าตนเองต้องมีความรับผิดต่อกระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง (Self-awareness & Accept responsible)
- C2: นักศึกษาสร้างแรงจูงใฝ่รู้และสร้างเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองอย่างมีความหมาย (Self-motivation & meaningful goals)
- C3: นักศึกษาสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (Self-management) และมีอิสละ เสรีภาพในกระบวนการเรียนรู้ของตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของตนเองที่วางไว้ได้ (Learner autonomy)
- C4: นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในชีวิตจริงของการทำงานได้ (Real life and ready to work)
|
Teaching and learning activity (Project-based Learning Presentation)
• Presenting students’ curriculum online (Studenets have to present their project which is new curriculum (new learning courses) through online)
• Discussing each curriculum
• Giving feedback
• Evaluating each curriculum (Students have to use their glocal criteria for curriculum assessment to assess their peers’ work.)
• Writing reflection
• Summarising and ending the course
|
รวมจำนวนชั่วโมง
|
45 |
0 |
|
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
|
CLO
|
สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
|
หมายเหตุ
Note
|
1. Class attendance |
|
5 |
|
2. Classroom tasks |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
|
5 |
|
3. Project |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
- S2: นักศึกษามีทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) โดยใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ตนเองมีมาใช้ในการสร้างผลงานตามที่ได้รับมอบหมายโดยเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning skills)
- S3: นักศึกษามีทักษะความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
- S4: นักศึกษามีทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership)
|
50 |
- New Curriculum (New English language course
- Oral Presentation
- Reflection |
4. Midterm test |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
|
20 |
|
5. Final test |
- K1: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา
- K2: นักศึกษามีความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริงในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรที่ซับซ้อนโดยสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทอย่างเหมาะสม เช่น วางแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะกับบริบทได้
- K3: นักศึกษามีความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อนขณะการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับบริกบท สามารถนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ และสามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นหรือถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้พร้อมทั้งรับเอาความรู้จากผู้อื่นไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้
- K4: นักศึกษามีความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ กับความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหลักสูตรทางภาษาตามกระบวนการที่เหมาะสมและการประเมินหลักสูตรได้
- S1: นักศึกษามีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking & Problem solving)
|
20 |
|
สัดส่วนคะแนนรวม
|
100
|
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
|
รายละเอียด
Description
|
ประเภทผู้แต่ง
Author
|
ไฟล์
File
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Council of Europe. (n.d.). Common European Framework of Reference for Languages: Learning, Teaching, Assessment (CEFR). https://www.coe.int/en/web/common-european-framework-reference-languages/level-descriptions |
|
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Jolly, R. D. & Bolitho, R. (2011). A framework for materials writing. In B. Tomlinson (Ed). Materials Development in Language Teaching (2nd ed., pp.107-134). Cambridge University Press. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Poonpon, K., Satthamnuwong, B. & Sameephet, B. (2018). Classroom and learning management: Voices from an English classroom in rural Thailand. In F. Copland & S. Garton (Eds.), TESOL Voices: Young Learner Education (pp.14-24). TESOL Press. |
อาจารย์ภายในคณะ |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Poonpon, K., Satthamnuwong, B., & Sameephet, B. (2016). Developing Teaching and Learning Approaches for Adolescent Leaners in a Thai Rural Area. Bangkok, Thailand. |
อาจารย์ภายในคณะ |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Richards, C., (2013). Curriculum Approaches in Language Teaching: Forward, Central, and Backward Design. RELC Journal, 44 (1), 5-13. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Macalister, J., & Nation, I.S.P. (2020). Language curriculum Design (2nd ed.). Routledge. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Mickan, P., & Wallace, I. (Eds.). (2020). The Routledge handbook of langauge education currilum design. Routledge. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Rose, H., & Galloway, N. (2019). Global Englishes for langauge teaching. Cambriedge University Press. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
|
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 |
1.2 |
1.3 |
1.4 |
1.5 |
2.1 |
2.2 |
2.3 |
2.4 |
3.1 |
3.2 |
3.3 |
3.4 |
4.1 |
4.2 |
4.3 |
4.4 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก
2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน
3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ