รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนะนำรายวิชา ประเด็นปัญหาในการรับภาษาที่สอง |
3 |
|
แนะนำรายวิชา งานและการประเมินผล, แนะนำการใช้งาน Google Classroom, ตั้งกลุ่มไลน์; บรรยายและแลกเปลียนเรื่อง ประเด็นปัญหาในการรับภาษาที่สอง | |
2-3 | Language, Learning and teaching, three perspectives on SLA, brief history of language teaching | 6 |
|
บรรยาย; เสวนา; เพื่อสรุปเนื้อหาและแลกเปลี่ยน; ผู้เรียนส่งหัวข้อโครงงานและปรึกษาอาจารย์เป็นรายกลุ่ม | |
4-5 | Theories of first language acquisition; issues in first language acquisition; L1-acquisition inspired methods | 6 |
|
บรรยายและแลกเปลี่ยน เล่น Kahoot เพื่อทวนเนื้อหา; ผู้เรียนส่งสรุปย่อบทความที่ใช้ในโครงงาน | |
6-7 | Age and Acquisition: Critical Period Hypothesis, neurobiological considerations, cognitive considerations, affective considerations, linguistic considerations, Issues in L1 acquisition revisited, age and acquisition inspired teaching methods | 6 |
|
บรรยายและแลกเปลี่ยน ทำแบบฝึกหัดทวน สรุปเนื้อหา ผู้เรียนปรึกษาอาจารย์เรื่องโครงงานทางเป็นรายกลุ่ม | |
8 | นำเสนอความก้าวหน้าของโครงงาน | 3 |
|
นำเสนอกลุ่ม | |
9-10 | Human Learning: behavioral perspective, cognitive perspective, social constructivist perspective, fundamental concepts in human learning, learning theories in the classroom | 6 |
|
บรรยาย; เสวนา; สรุปเนื้อหาและแลกเปลี่ยน | |
11-12 | Affective factors, personality type, motivation, classroom applications | 6 |
|
บรรยาย; เสวนา; สรุปเนื้อหาและแลกเปลี่ยนตอบข้อซักถามและแลกเปลี่ยน; ผู้เรียนปรึกษาอาจารย์เรื่องโครงงานเป็นรายกลุ่มทาง VDO Conference |
|
13-14 | Interlanguage, learner's errors, sources of difficulty, error treatment, focus on form instruction | 6 |
|
บรรยาย; เสวนา; สรุปเนื้อหาและแลกเปลี่ยนตอบข้อซักถามและแลกเปลี่ยน | |
15 | การนำเสนองาน | 3 |
|
ผู้เรียนส่งวิดีโอคลิปนำเสนอโครงงาน; อาจารย์และผู้เรียนสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโครงงานทาง VDO Conference; สรุปเนื้อหาวิชา |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
10 | |
บันทึกการเรียนรู้ประจำบท |
|
30 | |
โครงงานและการนำเสนอ |
|
30 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | Lightbown, P. & Spada, N. (2013). How Languages are Learned. Oxford: OUP. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Vanpatten, B. & Benati, A. (2010). Key Terms in Second Language Acquisition. NY: Continuum. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Vanpatten, B. & Williams, J. (2015). Theories in Second Language Acquisition. NY: Routledge. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Brown, D. (2014). Principles of Language Learning and Teaching. 6th Ed. NY: Pearson. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 1.5 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 3.4 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก
2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน
3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ