Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS113406
ภาษาไทย
Thai name
การแปลงานวรรณกรรม
ภาษาอังกฤษ
English name
LITERARY TRANSLATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS112401#,HS112402#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุขุม วสุนธราโศภิต
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์นวลจันทร์ ประดุจชนม์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    จริยธรรม
    Ethics
    • ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    ทักษะ
    Skills
    • แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • ทำโครงงานแปลได้อย่างถูกต้อง
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การแปลงานวรรณกรรม นวนิยายและเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมการเลือกใช้คำและวลีที่เหมาะสม
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Translation of literary works, novels and short stories from English
    to Thai and from Thai to English, cultural differences, selection of
    appropriate words and phrases
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Task-based learning
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชาและการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล (Course Introduction: Instruction, Assessment and Evaluation) 3
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team เพื่อชี้แจงรายละเอียดและข้อตกลงของรายวิชาที่นักศึกษาพึงทราบและปฏิบัติ
    2. ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายการวัดและการประเมินผล เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและความพึงพอใจ
    3. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    2 ทฤษฎีการแปลและกลยุทธ์การแปล (Theories of Translation and Translation Strategies) 3
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S4: ทำโครงงานแปลได้อย่างถูกต้อง
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษารายงานและอภิปรายทฤษฎีและกลยุทธ์การแปลที่ได้เตรียมมาล่วงหน้า
    3. ให้นักศึกษาทำแบบฝึกและให้ feedback
    4. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    3 ภาษากับการแปลวรรณกรรม (Language and Literary Translation) 3
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาอภิปรายภาษากับการแปลวรรณกรรมที่ได้เตรียมมาล่วงหน้า
    3. ให้นักศึกษาทำแบบฝึกแปลและให้ feedback
    4. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    5. มอบหมายงานชิ้นที่ 1 (10 คะแนน)
    4 การแปลคำเรียกขานในวรรณกรรม (Translation of Addressing Terms in Literary Works) 3
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาอภิปรายการแปลคำเรียกขานในวรรณกรรมที่ได้เตรียมมาล่วงหน้า
    3. ให้นักศึกษาทำแบบฝึกแปลคำเรียกขานและให้ feedback
    4. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    5 การแปลวัฒนธรรมในวรรณกรรม (Translation of Culture in Literary Works) 3
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาอภิปรายการแปลวัฒนธรรมในวรรณกรรมที่ได้เตรียมมาล่วงหน้า
    3. ให้นักศึกษาทำแบบฝึกแปลวัฒนธรรมต่างๆ และให้ feedback
    4. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    6 การแปลไสยศาสตร์ ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรมและศาสนาในวรรณกรรม (Translation of Superstitions, Beliefs, Traditions, Rituals and Religions in Literary Works) 3
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาอภิปรายการแปลไสยศาสตร์ ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรมและศาสนาในวรรณกรรมที่ได้เตรียมมาล่วงหน้า
    3. ให้นักศึกษาทำแบบฝึกแปลไสยศาสตร์ ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรมและศาสนาในวรรณกรรมและให้ feedback
    4. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    5. มอบหมายงานชิ้นที่ 2 (10 คะแนน)
    7 การแปลสำนวนในวรรณกรรม (Translation of Idioms in Literary Works) 3
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาอภิปรายการแปลสำนวนในวรรณกรรมที่ได้เตรียมมาล่วงหน้า
    3. ให้นักศึกษาทำแบบฝึกแปลสำนวนต่าง ๆ ในวรรณกรรมและให้ feedback
    4. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    5. มอบหมายโครงงานการแปล (30 คะแนน)
    8-9 การแปลเรื่องสั้นภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย (Translation of English Short Stories into Thai) 6
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาฝึกวิจารณ์งานแปลจากตัวอย่างที่หามา
    3. ให้นักศึกษาอภิปรายคำศัพท์และประเด็นสำคัญในเรื่องสั้นภาษาอังกฤษที่ได้รับไปคราวที่แล้ว เพื่อเตรียมการแปล
    4. ให้นักศึกษาฝึกแปลเรื่องสั้นภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
    5. ให้นักศึกษาอภิปรายการแปลเรื่องสั้นภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยที่ได้แปลมาล่วงหน้าและมีการให้ feedback
    6. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    7. มอบหมายงานชิ้นที่ 3 (10 คะแนน)
    10-11 การแปลเรื่องสั้นภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ(Translation of Thai Short Stories into English) 6
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาฝึกวิจารณ์งานแปลจากตัวอย่างที่หามา
    3. ให้นักศึกษาอภิปรายคำศัพท์และประเด็นสำคัญในเรื่องสั้นภาษาไทยที่ได้รับไปคราวที่แล้ว เพื่อเตรียมการแปล
    4. ให้นักศึกษาฝึกแปลเรื่องสั้นภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
    5. ให้นักศึกษาอภิปรายการแปลเรื่องสั้นภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษที่ได้แปลมาล่วงหน้าและมีการให้ feedback
    6. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    12-13 การแปลนวนิยายภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย (Translation of English Novels into Thai) 6
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S4: ทำโครงงานแปลได้อย่างถูกต้อง
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาฝึกวิจารณ์งานแปลจากตัวอย่างที่หามา
    3. ให้นักศึกษาอภิปรายคำศัพท์และประเด็นสำคัญในนวนิยายภาษาอังกฤษที่ได้รับไปคราวที่แล้ว เพื่อเตรียมการแปล
    4. ให้นักศึกษาฝึกแปลนวนิยายภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
    5. ให้นักศึกษาอภิปรายการแปลนวนิยายภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยที่ได้แปลมาล่วงหน้าและมีการให้ feedback
    6. มอบหมายงานให้ทำและศึกษาล่วงหน้าและเตรียมตัวสำหรับคราวต่อไป
    7. มอบหมายงานชิ้นที่ 4 (10 คะแนน) (สัปดาห์ที่ 12)
    14-15 การแปลนวนิยายภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ (Translation of Thai Novels into English) 6
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S4: ทำโครงงานแปลได้อย่างถูกต้อง
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    1. พบนักศึกษาออนไลน์แบบ virtual classroom ใช้ Microsoft Team
    2. ให้นักศึกษาฝึกวิจารณ์งานแปลจากตัวอย่างที่หามา
    3. ให้นักศึกษาอภิปรายคำศัพท์และประเด็นสำคัญในนวนิยายภาษาไทยที่ได้รับไปคราวที่แล้ว เพื่อเตรียมการแปล
    4. ให้นักศึกษาฝึกแปลนวนิยายภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
    5. ให้นักศึกษาอภิปรายการแปลนวนิยายภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษที่ได้แปลมาล่วงหน้าและมีการให้ feedback
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมใน Discussion forum
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    10 สัปดาห์ที่มีการเรียนแบบ virtual classroom
    แบบฝึกหัด 4 ชิ้น
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    20 ส่งสัปดาห์ที่ 5, 8, 11, 14
    สอบกลางภาค
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    20 Take home
    การผลิตโครงงานการแปล
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S4: ทำโครงงานแปลได้อย่างถูกต้อง
    • E1: ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อการทำงานกลุ่ม
    • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    • C1: รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: ค้นคว้าคำศัพท์ สำนวนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อการแปลงานวรรณกรรมได้ด้วยตนเอง
    30 ส่งสัปดาห์สุดท้ายของการเรียน ผ่านระบบ KKU e-Learning
    การสอบปลายภาค
    • K1: ใช้คำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการการแปลงานงานวรรณกรรมได้
    • K2: ใช้สำนวนภาษาในการแปลงานงานวรรณกรรม ได้ถูกต้องตามบริบท
    • K3: ถ่ายทอดวัฒนธรรมในการแปลระหว่างภาษาได้ถูกต้อง
    • S1: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • S2: แปลงานงานวรรณกรรมต่างๆ รวมทั้งเรื่องสั้น จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง เหมาะสมและสละสลวย
    • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
    20 สอบในห้องเรียน
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา สุพรรณี ปิ่นมณี. (2562). ภาษา วัฒนธรรมกับการแปล: ไทย – อังกฤษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา สัญฉวี สายบัว. (2542). หลักการแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา อัจฉรา ไล่ศัตรูไกล. (2554). จุดมุ่งหมาย หลักการและวิธีแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
    YouTube Translation Techniques (https://youtu.be/HKkHL03ZNwQ)
    YouTube Translation problems and solutions (https://youtu.be/EfjwKPIx480)
    YouTube Cultural Translation (https://youtu.be/_7PnoxLiw0k)
    YouTube Method for assessing translation quality (https://youtu.be/MdGbdi0UDAo)
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
    1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
    1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
    1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
    1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก

    2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
    2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
    2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
    2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน

    3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
    3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
    3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้

    4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
    4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ