รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประชากร - ประวัติความเป็นมาของการศึกษาเกี่ยวกับประชากร - ความหมายและขอบเขตของการศึกษาทางประชากร - ความสัมพันธ์ของการศึกษาประชากรกับสาขาวิชาต่างๆ - ประโยชน์ของความรู้เกี่ยวกับประชากร |
3 |
|
(1) พบนักศึกษา แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา การส่งงานผ่านระบบออนไลน์ และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและจับคู่ทำงาน (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
2-3 |
บทที่ 2 ทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิจ - แนวความคิดและทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิจ - ทฤษฎีประชากรที่สำคัญ |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดวิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อแตกต่างของฐานคิดของทฤษฎี (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
4 |
บทที่ 3 ตัวกำหนดการเติบโตของประชากร - ตัวกำหนดการเติบโตทางประชากรในรูปแบบอัตราและอัตราส่วน - โครงสร้างเพศและอายุ |
3 |
|
(1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT (3) ให้นักศึกษาอภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลง โดยใช้ข้อมูลประชากรของประเทศ (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
5-6 |
บทที่ 4 ประชากรและความสัมพันธ์กับมิติทางสังคม - ความสัมพันธ์ของประชากรกับมิติทางสังคม ได้แก่ เพศสภาพ การศึกษา เขตที่อยู่อาศัยและค่านิยมของสังคม |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
7-8 |
บทที่ 5 ประชากรและความสัมพันธ์กับมิติทางเศรษฐกิจ - ความสัมพันธ์ของประชากรกับมิติทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ฐานะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ฐานะทางเศรษฐกิจ การใช้กำลังแรงงานในภาคการผลิต การพัฒนาอุตสาหกรรมและวงจรเศรษฐกิจ |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
9-10 |
บทที่ 6 การเจริญพันธุ์และการสมรส - ความคิดรวบยอดของคำที่เกี่ยวข้องกับภาวะเจริญพันธุ์ - ดัชนีที่ใช้วัดภาวะเจริญพันธุ์ - ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อเจริญพันธุ์ - ผลกระทบของการพัฒนาที่มีต่อภาวะเจริญพันธุ์ - แนวโน้มของภาวะเจริญพันธุ์ - ภาวะเจริญพันธุ์ของประเทศไทย - ภาวะสมรส |
6 |
|
(1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา เรื่อง แต่งงานหรืออยู่เป็นโสด ดีกว่ากัน ? (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
11-12 |
บทที่ 7 การเจ็บป่วยและการตาย - ความคิดรวบยอดของศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยและการตาย การเจ็บป่วยของมนุษย์ - ประเภทและสาเหตุการตาย ดัชนีที่ใช้วัดภาวการณ์ตาย - ผลกระทบของการพัฒนาที่มีต่อการตาย - การเปลี่ยนแปลงภาวะการตายในประเทศพัฒนาและด้อยพัฒนา |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาเพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา เรื่อง สถิติและสถานการณ์การเจ็บป่วยและการตายของโรค COVID-19 (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
13-15 |
บทที่ 8 การเคลื่อนย้ายและการย้ายถิ่น - ความคิดรวบยอดของศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่น - ประเภทของการย้ายถิ่น - ความสำคัญของการย้ายถิ่น - ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการย้ายถิ่น - คุณลักษณะของผู้ย้ายถิ่น - ผลกระทบของการพัฒนาต่อการย้ายถิ่น - แนวโน้มการย้ายถิ่นในประเทศไทยและประชาคมอาเซียน |
9 |
|
(1) พบนักศึกษา เพื่อทบทวนเนื้อหาบทเรียนครั้งก่อน (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT (3) ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับกรณีศึกษา เรื่อง ผลกระทบของการย้ายถิ่นไปทำงานต่างประเทศ ที่มีต่อแรงงาน คู่สมรส ลูก ครัวเรือน และชุมชน ในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม (4) กิจกรรม ดูวิดีโอเกี่ยวกับการย้ายถิ่นของแรงงานไปทำงานต่างประเทศ (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
แบบฝึกหัดท้ายบท |
|
10 | ส่งงาน 1-15 |
รายงานการวิเคราะห์ครัวเรือน และปิรามิดประชากร |
|
45 | ส่งงาน 5, 15 |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
5 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
สอบปลายภาค |
|
40 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ดุษฎี อายุวัฒน์. (2558). ประชากรและสังคม. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ดุษฎี อายุวัฒน์. (2562). คนอีสานย้ายถิ่น: สถานการณ์และผลกระทบ. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ดุษฎี อายุวัฒน์. (2562). ศาสตร์และวิธีวิทยาการศึกษาการย้ายถิ่นของประชากร. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | นิพนธ์ เทพวัลย์. (2539). ประชากรศาสตร์. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เทียนฉาย กีระนันท์. (2536). เศรษฐศาสตร์ประชากร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บุญเลิศ เลียวประไพ. (2539). ระเบียบวิธีทางประชากรศาสตร์. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Bogue, D.J. (1969). Principles of Demography. New York : John Willey and Sons. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Coale, A.J. (1975). "The Demographic Transition", In The Population Debate : Dimensions and Perspectives. Vol1. New York : United Nations. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Petersen, W. (1969). Population. New York : McGraw - Hill book Company. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Shryock, H.S., et al. (1971). The Methods and Materials of Demography. Washington D.C.: US. Bureau of the Census, U.S. Government Printing Office. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ภัสสร ลิมานนท์ และคณะ. (2539). สรปุผลวิจัยเบื้องต้น โครงการศึกษาครอบครัวไทย. สถาบันประกรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | รุจา ภู่ไพบูลย์ และนิตยา คชภักดี. (2539). การเปลี่ยนแปลงลักษณะครอบครัวไทย : ผลกระทบต่อความผาสุกของครอบครัว เอกสารประกอบการสัมมนาวิจัย เรื่อง ครอบครัวศึกษา : การวิจัยเพื่อความผาสุกของครอบครัวไทย. ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 1 พฤศจิกายน 2539 ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | _______ , จริยา วิทยะศุภร และศิริวรรณ ไกรสุรพงศ์. (2542). ผลกระทบของภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ต่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว และความต้องการความช่วยเหลือ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2550). ประชุมวิชาการประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมาคมนักประชากรไทย. (2559). การประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2559. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2544). สำมะโนประชากรและเคหะ 2543. กรุงเทพฯ : สำนักงานสถิติแห่งชาติ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Pol, L.G. (2013). The demography of health and health care. New York : Springer. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | The Population Reference Bureau. (2006). World Population Date Sheet. Washington, D.C.: The Population Reference Bureau. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Todaro, Michael P. (1985). Economic Development in the Third World. New York : Alpine Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | United Nations. (1973). The Determinants and Consequences of Population Trends. New York : United Nations. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | United Nations. (2000). ESCAP Population and development programme. Bangkok : United Nations Popultion and rural and Urban Development Division. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ